เจาะแนวการตรวจสอบภาษีมูลค่าเพิ่ม ปี 2561 ที่กิจการต้องระวัง

รหัสหลักสูตร : 21/1170

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

เจาะแนวการตรวจสอบภาษีมูลค่าเพิ่ม ปี 2561 ที่กิจการต้องระวัง

หัวข้อสัมมนา

  1. Update กฎหมายภาษีมูลค่าเพิ่ม 2561
    • การจัดทำส่งมอบและเก็บรักษาใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ e-Tax Invoice, e-Receipt
    • ล่าสุด e-Tax Invoice, e-Receipt สรรพากรจะมีวิธีการตรวจสอบอย่างไร
    • ทิศทางอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มในอนาคต
  2. แนวทางการตรวจสอบสถานะสถานประกอบการของสรรพากร
    • การตรวจสอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม การเพิ่มสาขา, การลดสาขา, การย้ายสถานประกอบการ
    • กรณีแจ้งย้ายทางทะเบียนแต่ยังไม่มีการย้ายจริงสรรพากรจะทราบได้อย่างไร
    • การตรวจยันใบกำกับภาษีของสรรพากร
  3. ประเด็นร้อนที่ต้องระวังว่าสรรพากรจะตรวจสอบ
      ขายเงินสด (Cash Sales)ระบบเงินเชื่อ บัต
    1. รเครดิต (Credit Sales)
    2. การรับชำระล่วงหน้า/ เงินมัดจำ
    • การจัดทำ ส่งมอบ และเก็บรักษาใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์จะตรวจสอบอย่างไร จะตรวจจากผู้ซื้อหรือผู้ขาย หรือหน่วยงานที่ประทับรับรอง(Time Stamp)
    • การตรวจสอบภาษีจากระบบการขายสินค้าหรือการให้บริการของกิจการมีประเด็นใดบ้างที่กิจการต้องระวัง
  4. การตรวจสอบภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย
    • การแถมสินค้า (Premium)
    • การแจกสินค้าตัวอย่าง (Sample)
    • การให้รางวัลตามเป้า (Target Promotion)
    • การแจกของขวัญ ของชำร่วย
    • การให้ส่วนลดหรือลดราคา
  5. การตรวจสอบภาษีมูลค่าเพิ่มจากการให้สวัสดิการแก่พนักงาน
    • การให้ชุดยูนิฟอร์ม
    • การให้ของขวัญ
    • การมอบถ้วยรางวัลแข่งขันแบบกลุ่ม
  6. ประเด็นการตรวจสอบการขอคืนภาษีซื้อที่ต้องระวัง
    • ภาษีซื้อค่ารับรอง
    • ของแจก ของแถมลูกค้า
    • ของแจก ของรางวัลพนักงาน
    • ภาษีซื้อต้องห้าม
    • ขอคืนเป็นเงินสดเพิ่มความเสี่ยงให้สรรพากรตรวจสอบภาษีของกิจการจริงหรือไม่
  7. การตรวจสอบการยื่นแบบ
    • ยื่นผิดแบบ
    • ยื่นเพิ่มเติม
  8. ประเด็นการตรวจสอบการออกและใช้ใบกำกับภาษีใบลดหนี้ ใบเพิ่มหนี้
    • จุดที่ต้องระวังในใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปใบกํากับภาษีอย่างย่อ ใบเพิ่มหนี้และใบลดหนี้
    • จุดที่ต้องระวังในการออกใบกากำภาษีที่เขียนด้วยมือและการออกใบกำกับภาษีด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์การตรวจสอบต่างกันหรือไม่
    • สรรพากรมีวิธีการตรวจสอบจุดที่จะต้องออกใบกำกับภาษีอย่างไร
    • ออกใบกำกับภาษี ใบลดหนี้ ใบเพิ่มหนี้โดยไม่มีสิทธิออกสรรพากรตรวจสอบได้อย่างไร
    • ใบกำกับภาษีที่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าใครเป็นผู้ออกจะถือเป็นใบกำกับภาษีปลอมหรือไม่ จะมีแนวทางแก้ไขอย่างไร
    • การตรวจสอบใบลดหนี้ส่วนลดหลังการขายถือเป็นสาเหตุออกใบลดหนี้ได้หรือไม่
    • บริษัทให้ส่วนลดเงินสดกับลูกค้า หากลูกค้าสามารถชำระค่าสินค้าได้ภายในเงื่อนไขที่กำหนด บริษัทสามารถออกใบลดหนี้ได้หรือไม่
  9. แนวทางการตรวจสอบรายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย
      การตรวจแบบสุ่มตัวสินค้า
    1. รูปแบบของรายงานสินค้าและวัตถุดิบที่สรรพากรยอมรับ
    2. กรณีสินค้าขาด-เกินกว่ารายงานสินค้าและวัตถุดิบจะมีโทษอย่างไร ผู้ประกอบการมีแนวทางแก้ไขอย่างไร
    3. กรณีขายสินค้าที่มีหมายเลขเครื่องกำกับเมื่อขายหมายเลขเครื่องที่ระบุในใบกำกับภาษีกับที่ระบุในตัวสินค้าไม่ตรงกันจะมีผลอย่างไร และสรรพากรจะตรวจสอบได้หรือไม่
    4. ในกรณีบริษัทได้รับของแถมซึ่งเป็นสินค้าแบบเดียวกับที่บริษัทมีไว้เพื่อขาย หากต้องการขายของแถมถ้าไม่บันทึกรายการรับมาและจ่ายไปไว้ในรายงานสินค้าและวัตถุดิบจะมีผลอย่างไร
    • การลงรายงานภาษีซื้อ - ภาษีขาย
    • การตรวจสอบสินค้าและวัตุดิบ
  10. ปัญหาที่เกิดจากการคํานวณภาษีมูลค่าเพิ่ม
  11. ยื่นแบบแสดงรายการ ภพ.30 ไว้ไม่ถูกต้องหรือมีข้อผิดพลาด หรือจำนวนที่ต้องเสียภาษีคลาดเคลื่อนจะมีแนวทางแก้ไขอย่างไรไม่เสียเบี้ยปรับ – เงินเพิ่ม
  12. จุดตรวจที่จะกระทบไปยังภาษีอื่นๆ ที่ผู้ประกอบการต้องระวัง เช่น ภาษีซื้อต้องห้ามกระทบรายจ่าย,ใบกำกับภาษีปลอมกระทบรายจ่าย เป็นต้น
  13. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์ชุมพร เสนไสย

สถานที่

โรงแรมบูเลอวาร์ด กรุงเทพ
2 ซ.5 ถ.สุขุมวิท แขวง คลองเตย เขต วัฒนา กทม.
โทรศัพท์ :
02 2552930
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba