วิทยากรโดย อาจารย์เจนฤทธิ์ สระวาสี
หัวข้อสัมมนา1. องค์ประกอบ โครงสร้างระบบพิกัดศุลกากรตามหลักสากล- การจำแนก 4 หลัก 6 หลัก 8 หลัก- กรณีพิกัดที่สำแดงในหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดไม่ถูกต้อง จะส่งผลต่อการได้สิทธิตามข้อตกลงหรือไม่- กรณีศุลกากรของแต่ละประเทศตีความพิกัดฯ สินค้าชนิดเดียวกันแตกต่างกัน จะทำอย่างไร- ศุลกากรประเทศต้นทาง - ปลายทาง มีความเห็นด้านพิกัดไม่ตรงกัน จะทำอย่างไร- กรณีเสียภาษีด้วยพิกัดเดิมมาตลอด ภายหลังรับรู้ว่าพิกัดนั้นไม่ถูกต้องจนเป็นเหตุให้อากรขาด จะมีวิธีปฏิบัติอย่างไร- กรณีมีปัญหาหลายกลุ่มประเทศ ศุลกากรไทยกับต่างประเทศมีความเห็นไม่ตรงกัน จะวินิจฉัยอย่างไร ใครเป็นผู้ตัดสิน2. เทคนิคการตีความพิกัดอัตราศุลกากร- การพิสูจน์หาข้อเท็จจริงของสินค้า- หลักเกณฑ์การตีความ 6 ข้อ โดยอาศัยข้อเท็จจริงของสินค้า 3. วิธีปฏิบัติที่ถูกต้อง เมื่อมีปัญหาด้านพิกัด- ในขณะกำลังผ่านพิธีการตรวจปล่อยสินค้า- หลังจากตรวจปล่อยสินค้า- การอุทธรณ์พิกัด หลังมีคำวินิจฉัยอุทธรณ์แล้ว ผู้ประกอบการไม่เห็นด้วยกับคำวินิจฉัยอุทธรณ์ จะทำอย่างไร- การยื่นขอให้ตีความพิกัดล่วงหน้า- ยื่นตีความพิกัดล่วงหน้า แต่ผู้ประกอบการไม่เห็นด้วยกับผลวินัจฉัย จะมีวิธีแก้ไขอย่างไร และผลวินิจฉัยนั้นจะมีผลผูกพันใช้บังคับได้หรือไม่- กรณียื่นตีความพิกัดล่วงหน้า แล้วศุลกากรประเทศปลายทางไม่เห็นด้วย จะมีผลอย่างไร- ความเสียหายที่จะได้รับหากมีการสำแดงพิกัดผิดพลาด ที่ผู้ประกอบการต้องระมัดระวัง4. Workshop การจัดกลุ่มพิกัดอัตราศุลกากรอย่างถูกต้องและรวดเร็วโดยการปฏิบัติจริง- ฝึกปฏิบัติการจัดพิกัด การจัดหมวด จัดตอน จัดประเภทให้เหมาะสม พร้อมคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญเมื่อทำการจัดพิกัดผิด- ฝึกปฏิบัติการตรวจสอบพิกัด เมื่อให้ชิ้ปปิ้งเป็นผู้ดำเนินพิธีการ- ฝึกปฏิบัติการเขียนคำร้องขอให้ทบทวนการตีความพิกัดอัตราศุลกากรล่วงหน้า เมื่อไม่เห็นด้วยกับผลการวินิจฉัย เขียนอย่างไร เน้นประเด็นไหนให้ศุลกากรยอมรับ5. กรณีศึกษาจาก case จริงที่เกิดขึ้น และตัวอย่างคำพิพากษาด้านพิกัดศุลกากร * Case การนำเข้ารถยนต์ / เครื่องจักร / ชิ้นส่วนอะไหล่ของเครื่องจักร / เหล็ก
รถไฟฟ้า BTS สถานีชิดลม ทางออกที่ 6