กฎหมายและแนวปฏิบัติการรับ-จ่ายเช็ค ที่ฝ่ายบัญชี-การเงินควรทราบ

รหัสหลักสูตร : 21/03519P

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


กฎหมายและแนวปฏิบัติการรับ-จ่ายเช็ค ที่ฝ่ายบัญชี-การเงินควรทราบ 

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD

ผู้ทำบัญชี

อื่นๆ 6 ชั่วโมง

ผู้สอบบัญชี

อื่นๆ 6 ชั่วโมง

  • ครม.เห็นชอบอนุมัติ ยกเลิก พรบ.ความผิดจากการใช้เช็ค จะมีผลใช้บังคับเมื่อใด
    และมีผลย้อนหลังหรือไม่
  • ทำอย่างไรให้สามารถนำเช็คที่ได้รับไปฟ้องเป็นคดีอาญาได้
  • ทำอย่างไร เกี่ยวกับความรับผิดที่เกิดขึ้นกับเช็ค ในกรณีกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
  • ประเด็น “เช็คแก้ไขข้อความ” ทุกธนาคารไม่รับฝาก
  • กลโกงต่างๆ ของเช็ค และจุดตรวจสอบที่ฝ่ายบัญชี-การเงินต้องระมัดระวัง
  • เช็คบริษัทที่ไม่ประทับตราบริษัท กรรมการหรือผู้มีอำนาจลงนาม
    ต้องรับผิดเป็นการส่วนตัวหรือไม่
  • หลักเกณฑ์การทวงหนี้ใหม่...ที่ฝ่ายบัญชี-การเงินควรทราบเพื่อปฏิบัติ
    ให้ถูกต้องตามกฎหมาย
  • เทคนิคการรับ-จ่ายเช็ค เพื่อป้องกันความผิดพลาด
  • เช็คห้ามเปลี่ยนมือกับเช็คห้ามสลักหลักสืบไป ต่างกันหรือไม่
  • Case Study ที่เกี่ยวกับเช็ค

วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ 

หัวข้อสัมมนา

1. ลักษณะของเช็คในรูปแบบต่างๆ ที่บัญชีและการเงินต้องทราบ

- เช็คระบุชื่อ - เช็คเงินสด - เช็คสลักหลัง

- แคชเชียร์เช็ค - เช็คต่างจังหวัด - เช็คต่างธนาคาร

- เช็คลงวันที่ย้อนหลัง - เช็คลงวันที่ล่วงหน้า - เช็คเด้ง

- เช็คหมดอายุ ฯลฯ

2. กลโกงเช็คต่างๆ จากเช็คที่นักบัญชี-การเงินต้องรู้และจุดตรวจสอบเช็คทั้ง 5 จุดสำคัญ

  • การเขียนวันที่สั่งจ่าย - ชื่อผู้รับ - ชื่อผู้สั่งจ่าย
  • จำนวนเงิน (ตัวเลข/ตัวอักษร) - ลายเซ็น

3. เทคนิคการออกเช็ค (สั่งจ่าย) ที่นักบัญชี-การเงินควรทราบ เพื่อป้องกันการผิดพลาด

  • วิธีการออกเช็คคุมยอดหนี้ระยะยาว -
  • การตวรจสอบจุดที่สำคัญในการรับเช็ค
  • ผู้สั่งจ่ายควรต้องระมัดระวังเรื่องใดบ้าง
  • การออกเช็คชำระหนี้กับการออกเช็คค้ำประกันต่างกันอย่างไร?
  • ใบถอนเงินธนาคาร เพื่อทำแคชเชียร์มีความเสี่ยงมากน้อยเพียงใด?

4. เทคนิคการรับเช็ค ที่นักบัญชี-การเงินควรทราบ เพื่อป้องกันการผิดพลาด

  • การรับเช็คประเภทต่างๆ (เช็คนิติบุคคล, เช็คผู้ถือ, เช็คระบุชื่อ)
  • การรับเช็คห้ามเปลี่ยนมือ หรือ A/C Payee Only
  • การรับเช็คสลักหลัง จะต้องตรวจสอบอย่างไรบ้าง?
  • จุดที่ต้องระมัดระวังในการรับเช็ค

5. . กรณี“เช็คเด้ง” ฝ่ายบัญชี-การเงินจะต้องดำเนินการอย่างไร? เพื่อให้ได้เงินตามเช็ค

- อายุความของมูลหนี้แต่ละประเภท

- ต้องเสียค่าธรรมเนียมให้ธนาคารหรือไม่

- ความน่าเชื่อถือเมื่อเช็คเด้ง

- เหตุที่ทำให้ “เช็คเด้ง” ที่ฝ่ายบัญชีการเงินควรทราบ

- หนี้ที่จะขาดอายุความ ลูกหนี้จ่ายเช็คเด้ง อายุความจะสะดุดหยุดลงหรือไม่

- กรณีบัญชีที่ขึ้นเงินตามเช็คปิดไปก่อนนำเช็คขึ้นเงิน

- เอกสารหลักฐานที่ฝ่ายบัญชี

-การเงินจะต้องรวบรวมไว้เป็นหลักฐาน

- หลักเกณฑ์การทวงหนี้ใหม่...ที่ฝ่ายบัญชี

-การเงินควรทราบเพื่อปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย

6. กรณี“เช็คหาย” ฝ่ายบัญชี-การเงินจะต้องดำเนินการอย่างไร?

  • กรณีเช็คหาย ใครสามารถนำไปขึ้นเงินได้
  • กรณีติดต่อธนาคารจะต้องนำเอกสารหลักฐานใดบ้าง
  • สิ่งที่ต้องดำเนินการ เมื่อ“เช็คหาย”เพื่อขอให้มีการอายัดเช็ค

7. การทำธุรกรรมกับธนาคารที่เกี่ยวกับเช็ค

  • สาเหตุ...ที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็ค
  • หากมีการปลอมแปลงลายมือชื่อ ใคร? เป็นผู้รับผิดชอบในคดีอาญา
  • การขอภาพเช็คทั้ง Grayscale และ Black & White
  • การตรวจสอบ“ลายมือชื่อ”ของธนาคาร
  • ความรับผิดของธนาคาร กรณีจ่ายเงินตามเช็คปลอม

8. Case Study : ตัวอย่างกลโกงของเช็ค แคชเชียร์เช็ค และวิธีแก้ไข ป้องกัน

  • การปลอมลายมือชื่อ
  • การแก้ไขจำนวนเงิน

9. การดำเนินการทางคดีการฟ้องร้องคดีและอายุความของคดีเช็ค ที่นักบัญชี - การเงินต้องทราบ

10. คุณธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี 

 
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

สถานที่

โรงแรมโฟร์พอยท์ส บาย เชอราตัน กรุงเทพฯ เพลินจิต (ชื่อเดิม รร.โนโวเทล กรุงเทพ เพลินจิต)
566 ถ.เพลินจิต แขวง ลุมพินี เขต ปทุมวัน กทม.
โทรศัพท์ :
02 2305 6000
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีเพลินจิต ทางออกที่ 4


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba