Transfer Pricing Law and Development กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน (จัดอบรมออนไลน์ผ่าน Zoom)

รหัสหลักสูตร : 21/8338Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 3,745 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,280 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


Transfer Pricing Law and Development กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กับบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี

อื่นๆ 4 ชั่วโมง

ผู้สอบบัญชี

นับชั่วโมงแบบ
ไม่เป็นทางการได้


หลักเกณฑ์ใหม่ล่าสุด!!
การปรับปรุงรายได้-รายจ่าย (Adjustment) ใช้บังคับรอบระยะเวลาบัญชี เริ่มในหรือหลัง
วันที่ 1 ม.ค. 2564
• Update กฎหมาย Transfer Pricing
• หลักเกณฑ์การยื่น Disclosure Form
• กฎหมาย Transfer Pricing ที่กำลังเป็นประเด็นร้อน เรื่องของการประเมินราคาตลาด

วิทยากรโดย อาจารย์สรญา บุญส่งประเสริฐ

หัวข้อสัมมนา

1. ความเป็นมาของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับราคาตลาดในประเทศไทย

2. กฎหมายลูกที่ออกมาใหม่ ในปี 2563 และในปี 2564 และที่กำลังจะออก
• กฎกระทรวง ฉบับที่ 369 (พ.ศ. 2563)
• ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 400)
• ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร กำหนดแบบ หลักเกณฑ์ การยื่น Disclosure Form
• กฎหมายลูกที่กำลังจะออกเร็วๆ นี้
• ประเด็นไหนที่ต้องตามให้ทัน
• ประเด็นไหนเป็นประโยชน์กับผู้เสียภาษี
• ประเด็นไหนต้องเปลี่ยนเพื่อรองรับกฎหมายใหม่

3. ความแตกต่างของธุรกรรมที่ถูกควบคุม VS ธุรกรรมที่ไม่ถูกควบคุม

4. วิธีการกำหนดราคา (Benchmark) มีผลกับการถูกสรรพากรปรับปรุงรายได้
รายจ่ายอย่างไร

• กรณีที่ไม่สามารถใช้วิธีการหาราคาตามที่กฎหมายกำหนดต้องทำอย่างไร

5. วิธีการปรับปรุงรายได้และรายจ่ายของสรรพากร (Adjustment)
• Primary Adjustment
• Secondary Adjustment (Deem dividend หรือ Deem interest) คืออะไร
• ภาษีใดบ้างที่ต้องเสียกรณีโดนประเมินเรื่อง Transfer Pricing เช่น ประเด็นหัก ณ ที่จ่าย
จะเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ ต่อเลยหรือไม่

6. ความสำคัญของตัวชี้วัดทางการเงินกับการปรับปรุงรายได้รายจ่ายของสรรพากร

7. Corresponding adjustment คืออะไร มีความสำคัญอย่างไรต่อผู้เสียภาษี
• รายการระหว่างกัน ในประเทศ
• รายการระหว่างกัน นอกประเทศ

8. การมีข้อกําหนดด้านพาณิชย์หรือด้านการเงินระหว่างบริษัทในเครืออย่างไรที่จะถือ
ว่ามีการถ่ายโอนกําไร

• ข้อกําหนดที่แตกต่างจากที่ควรกําหนดหมายความว่าอย่างไร
• ลักษณะที่สรรพากรมองว่าจะมีการถ่ายโอนกําไรซึ่งกันและกัน
• เงื่อนไขการชําระเงินจะมีประเด็นในการตรวจสอบหรือไม่
• ค่าใช้จ่ายที่สรรพากรมองว่าเป็นการถ่ายโอนกําไร

9. การวางแผนด้านการเงินระหว่างกัน Thin Capitalization มีผลกับภาษีอากรอย่างไร
• การกำหนดนโยบาย
• การให้กู้ยืมโดยอัตราดอกเบี้ยตามข้อตกลงระหว่างกัน
• การกำหนดสัดส่วนหนี้สินระหว่างกัน
• ตัวอย่างธุรกรรมในการทำ Thin Capitalization ที่สามารถทำได้

10. การวางแผนการเรียกเก็บบริการระหว่างกันกับบริษัทในเครือ
• การกำหนดนโยบาย
• การให้บริการระหว่างกัน
• การเรียกเก็บเงินค่าบริการ พร้อมตัวอย่าง
• การบริการเพื่อประโยชน์ของความเป็นเจ้าของของผู้ถือหุ้น

11. การวางแผนเรื่องของ Branding Company และการจ่ายค่าสิทธิ
• DEMPE concept
• การจ่าย royalty ที่หักเป็นค่าใช้จ่ายได้

12. การขอคืนภาษีกรณีที่ถูกสรรพากรลดรายจ่ายลง (Tax Refund)
• หลักการขอคืนภาษีจะขอคืนได้ภายในกี่ปี
• จะยื่นแบบใดในการขอคืน
• กรณีถูกปรับรายได้หรือรายจ่ายหากมีภาษีที่ต้องขอคืนสรรพากรจะตรวจสอบเพิ่มเติมหรือไม่
• สามารถใช้หลักการขอคืนตามอนุสัญญาภาษีซ้อนได้หรือไม่

13. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยายบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี


เงื่อนไขการเข้าอบรม
1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User
2. ผู้เข้าสัมมนาต้องกรอกข้อมูล ผ่าน Google Forms
3. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ีระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที
4. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน
5. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand)หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ใน
ระหว่างอบรม
6. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายในวันถัดไปหลังเสร็จสิ้นการอบรม
*** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) ***

เงื่อนไขการเข้าอบรมผู้ทําบัญชีสามารถนับชั่วโมง CPD ได้ ผู้สอบบัญชีนับชั่วโมง
ไม่เป็นทางการ

ผู้ทำบัญชี
1.ผู้ทําบัญชีสามารถใช้อัตราชั่วโมงการอบรมตามจริงจํานวน 1.5 ชม.
แทนการนับชั่วโมง CPD ได้จํานวน 1 ชม.
2.ผู้เข้าสัมมนาต้องแนบรูปถ่ายหน้าตรงคู่กับบัตรประชาชน ใน Google forms
3.ผู้เข้าสัมมนาต้องเปิดกล้องตลอดระยะเวลาการอบรม และไม่ควรกดออกจากโปรแกรม
4.เจ้าหน้าที่จะ Capture หน้าจอผู้เข้าสัมมนาทุกคน
* หลักสูตร 3 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 2 ครั้ง ก่อนอบรมและสิ้นสุดการอบรม
* หลักสูตร 6 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 4 ครั้ง
ช่วงเช้า ก่อนการอบรม และจบการอบรมช่วงเช้า
ช่วงบ่าย ก่อนการอบรม และสิ้นสุดการอบรม
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
1.ผู้สอบบัญชีสามารถนับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้ ตามจำนวนชั่วโมงที่เข้าอบรมจริง
2.ผู้เข้าสัมมนาต้องเปิดกล้องตลอดระยะเวลาการอบรม และไม่ควรกดออกจากโปรแกรม
3.เจ้าหน้าที่จะ Capture หน้าจอผู้เข้าสัมมนาทุกคน
* หลักสูตร 3 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 2 ครั้ง ก่อนอบรมและสิ้นสุดการอบรม
* หลักสูตร 6 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 4 ครั้ง
ช่วงเช้า ก่อนการอบรม และจบการอบรมช่วงเช้า
ช่วงบ่าย ก่อนการอบรม และสิ้นสุดการอบรม

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ ไม่เป็นทางการ (นับชั่วโมงได้ตามจำนวน ชม. การเข้าอบรมจริง)
0:0 4:0

วิทยากร

อาจารย์สรญา บุญส่งประเสริฐ

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (ผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี นับชม.ได้ตามจำนวนการเข้าอบรมจริง 1.5 ชม. ทดแทน 1 ชม.)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba