หัวข้อสัมมนา
1. หลักเกณฑ์การรับรู้รายได้ของนิติบุคคล
2. หลักเกณฑ์การเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30)
3. ความแตกต่างของการรับรู้รายได้และภาษีมูลค่าเพิ่ม
• ซื้อมาขายไป
• ขายส่งออก, EPZ, เขตนิคมอุตสาหกรรม
• ฝากขาย, ตั้งตัวแทนเพื่อขาย
- กรณีมีสัญญาตั้งตัวแทน กับไม่มีสัญญาตั้งตัวแทน
- กรณีพิเศษประเด็นภาษีมูลค่าเพิ่ม
4. การรับรู้รายได้การส่งออกและการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มยึดตาม Invoice ได้หรือไม่
• อย่างไรจึงจะถือว่าส่งออก VAT 0% ตามหลักเกณฑ์ของสรรพากร
5. กรณีมีการลดหนี้ จะรับรู้รายได้รายจ่ายอย่างไร และ เสียภาษีมูลค่าเพิ่มอย่างไร
6. บริจาคสินค้า แจกสินค้าตัวอย่าง นำสินค้าเก่ามาเป็นส่วนลดในการซื้อสินค้าใหม่
จะใช้ราคาใดในการรับรู้รายได้ และเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม และมีภาระภาษี
ในการหักภาษี ณ ที่จ่าย อย่างไร
7. เจาะประเด็นการรับรู้รายได้เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลกับการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
• ค่าความเสียหาย ค่าสินไหมทดแทน ค่าปรับ ดอกเบี้ยผิดนัด ดอกเบี้ยจากการส่งสินค้าล่าช้า
มีเงื่อนไขอย่างไร ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม รวมถึงเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลและ
ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายด้วยหรือไม่
8. การนำสินค้าไปใช้ที่สาขา, โชว์รูม, โรงงานจะถือเป็นการขายและเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
และภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่อย่างไร
9. วิธีการจัดการกับทรัพย์สินและสินค้าเก่าล้าสมัย ตกรุ่น มีตำหนิ โดยไม่ต้องเสียภาษี
• หลักเกณฑ์ที่สรรพากรยอมรับ
• วิธีการและเอกสารที่นักบัญชีต้องจัดทำ
10.การบริจาคกับภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีมูลค่าเพิ่มบริจาคอย่างไรให้ได้ 2 เท่า
บริจาคอย่างไรไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
• ข้อควรระวังในการบริจาค
• เอกสารหลักฐานที่ใช้อ้างอิงในการบริจาค
11.เจาะลึกภาระภาษีดอกเบี้ย เงินปันผล ส่วนแบ่งกำไร
• การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลกรณีที่จะได้รับยกเว้นภาษี
• บัญชีลงว่าจ่ายดอกเบี้ยเงินปันผล แต่ทำไมสรรพากรให้เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
12.รายได้ตาม ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30 กรณีที่ต้องมีภาระภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภ.ง.ด.53
• การทำ Sales Promotion ที่ไม่ได้รับการยกเว้น
• การลด แลก แจก แถม ที่สรรพากรยอมรับ
13.การกระทบยอด ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30 และ ภ.ง.ด.53 อัตราแลกเปลี่ยน
เงินตราต่างประเทศ
14.การกระทบยอด ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30 และ ภ.ง.ด.53 ปัญหาที่นักบัญชี ต้องระวัง