- Update!! ความเปลี่ยนแปลงของบริการทางการแพทย์จากสถานการณ์โควิด ที่มีผลกระทบต่อภาระภาษีของแพทย์ โรงพยาบาลฯ
- ภาระภาษีของโรงพยาบาล จากรายได้-รายจ่ายในช่วงสถานการณ์โควิด
(เงินได้จาก UCEP Plus, ประกันสังคม, บริษัทประกัน) - สัญญา Hospitel ระหว่างโรงพยาบาลกับโรงแรมที่เข้าร่วม ASQ มีภาระภาษีอย่างไร
- การวางแผนภาษี เตรียมรับการกลับมาของกลุ่ม Medical Tourism หลังเปิดประเทศ
- สิทธิประโยชน์เกี่ยวกับการนำเข้าเภสัชภัณฑ์ และเครื่องมือทางการแพทย์
วิทยากรโดย อาจารย์ชุมพร เสนไสย
หัวข้อสัมมนา
1.Update ประเด็นภาระภาษีของแพทย์และโรงพยาบาลจากสถานการณ์โควิด
- รายได้ที่ต้องเสียภาษีของแพทย์ โรงพยาบาล และบุคลากรทางการแพทย์
- รายได้ของโรงพยาบาลในช่วงสถานการณ์โควิด
- การหักค่าใช้จ่าย, การหักค่าลดหย่อนตามหลักเกณฑ์ใหม่ และสิทธิประโยชน์ทางภาษีของแพทย์ โรงพยาบาล และบุคลากรทางการแพทย์
- รายได้จากการเปิดจอง และบริการรับฉีดวัคซีนโควิด, รับตรวจหาเชื้อโควิด ATK, RT-PCR
- สัญญา Hospitel กับโรงแรมที่เข้าร่วม ASQ ระยะสั้น/ระยะยาว มีภาระภาษีเหมือน
หรือต่างกัน อย่างไร - การตรวจสอบภาษีของสรรพากร
2.ภาระภาษีทั้งระบบของแพทย์ , โรงพยาบาล
- ความสัมพันธ์ของแพทย์และโรงพยาบาลกับภาระภาษีที่ต้องระวัง
- การวางแผนการทําสัญญาระหว่างแพทย์กับโรงพยาบาล
3.การจัดเก็บภาษีของสรรพากรเกี่ยวกับเงินได้ของแพทย์ และความแตกต่างของแต่ละประเภทเงินได้
- การจ้างแรงงาน มาตรา 40(1)
- เงินได้จากการรับทํางานให้ มาตรา 40(2)
- เงินได้จากวิชาชีพอิสระมาตรา 40(6),
- เงินได้จากการประกอบธุรกิจโรงพยาบาล มาตรา 40(8)
4.ภาระภาษีพร้อมการวางแผนภาษีเงินได้ของแพทย์
- ทํางานได้รับเงินเดือน, ค่าจ้าง เป็นรายเดือน
- ค่าธรรมเนียมแพทย์ (DF)
- ค่าเสี่ยงภัยของแพทย์ พยาบาล บุคลากรทางการแพทย์
- เข้าไปตรวจรักษาให้ตามบริษัท ตามกําหนดวัน เวลาที่บริษัทกําหนด/ไปตรวจตามบ้านกรณีฉุกเฉิน
- มีรายได้จากการไปตรวจรักษานอกเวลากับสถานพยาบาลต่างๆ
- เงินค่าล่วงเวลาจากการเข้าเวร หรือค่าตอบแทนพิเศษในการรักษาผู้ป่วยที่ทางโรงพยาบาลจ่ายเพิ่มให้
- เปิดคลินิกส่วนตัว ทั้งทําในนามของบุคคลธรรมดา และนิติบุคคลภาระภาษีต่างกันหรือไม่
- เปิดคลินิกในสถานพยาบาลหรือโรงพยาบาลที่ตนเองทํางานโดยมีสัญญาหรือข้อตกลงกันทั้งกรณีเช่าสถานที่และแบ่งรายได้จากการรักษา
- กรณีเช่าสถานที่เปิดคลินิก แต่ให้โรงพยาบาลเป็นผู้เก็บค่ารักษาพยาบาลเองและแบ่งรายได้กันระหว่างแพทย์กับโรงพยาบาล
- คลินิก, สถานเสริมความงาม กับปัญหาภาษีในการจ่ายเงินให้แพทย์
- มีรายได้จากการนําคนไข้เข้ามารักษาในโรงพยาบาลที่แพทย์ทํางานอยู่ประจําและไม่ประจํา
- แพทย์ไปเปิดสถานพยาบาล มีเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
- ข้อดี/ข้อเสียเมื่อเลือกรูปแบบธุรกิจบุคคลธรรมดากับนิติบุคคล
5.แพทย์และสถานพยาบาลต้องเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่
6.ถ้าสถานพยาบาลมีรายได้อื่น มีภาระภาษีอะไรบ้าง
- ใช้บ้านของแพทย์เป็นสถานประกอบการ
- การเลือกรูปแบบองค์กรเพื่อการวางแผนภาษี
- การขอถอนทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มต้องทําอย่างไร
- ให้โรงพยาบาลอื่นยืมอุปกรณ์ทางการแพทย์
- การตั้งบู๊ทขายสินค้า
- รับจัดสัมมนา
- การให้ใช้ห้องประชุม
- สปา/ ดีท็อกซ์
- บริการนวดแผนไทย
- ให้เช่าสถานที่เพื่อเปิดเป็นร้านค้า
- Food Center, ร้านอาหาร
7.ภาระภาษีเงินได้นิติบุคคลของสถานพยาบาล โรงพยาบาล
- การรับรู้รายได้ของโรงพยาบาล
- การรับรู้รายได้คลินิกพิเศษ
- สถานเสริมความงามถือเป็นสถานพยาบาลหรือไม่
- การนําธุรกิจโรงพยาบาลไปขอส่งเสริมการลงทุนจาก BOI
- การบันทึกทรัพย์สินของโรงพยาบาล
(อุปกรณ์การแพทย์จะคิดค่าเสื่อมหรือลงเป็นรายจ่ายทั้งจํานวน) - การมี Contract ระหว่างโรงพยาบาลในการส่งผู้ป่วย, การใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์,
ห้องพักของคนไข้ มีภาระภาษีอย่างไร - ภาระภาษีของโรงพยาบาลจากการเบิกจ่ายของ UCEP, UCEP Plus, ประกันสังคม และ บริษัทประกัน
8.ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ที่เกี่ยวข้องกับกิจการโรงพยาบาล
- กรณีบริษัทจ่ายค่าตรวจสุขภาพประจําปีของพนักงานต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย สถานพยาบาล
หรือไม่ - รายได้จากการรักษาพยาบาล
- กรณีบริษัทจ่ายค่ายาให้โรงพยาบาลต้องหักภาษีหรือไม่ (ฟรีค่าตรวจ คิดแต่ค่ายา)
9.การวางแผนภาษีของสถานพยาบาล โรงพยาบาล
- การวางแผนภาษี เตรียมรับการกลับมาของกลุ่ม Medical Tourism หลังเปิดประเทศ
10.ประเด็นร้อนที่แพทย์และโรงพยาบาลมักถูกสรรพากรประเมิน