28 ประเด็นปัญหาการปิดบัญชีตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ( 27 ต.ค. 60)

โดย

 


28 ประเด็นปัญหาการปิดบัญชีตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี  บัญชี 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี  บัญชี 6 ชม.

 

  เรียนรู้ประเด็นปัญหาการปิดบัญชีตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน พร้อมวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างถูกต้อง และเข้าใจง่ายสำหรับนักบัญชี และผู้ทำบัญชี

  วิทยากรโดย อาจารย์พงษ์ธร ดวงปัญญา

  หัวข้อสัมมนา

  1. ข้อควรระมัดระวังในการจัดเตรียมข้อมูลก่อนการปิดงบการเงิน

  2. ปัญหาการจัดทำและนำเสนองบการเงิน ณ วันสิ้นงวดบัญชี

  3. ข้อควรระมัดระวังในการจัดทำงบการเงินของกิจการขายสินค้า ให้บริการ กิจการอุตสาหกกรรม ค้าปลีกส่ง

  4. จุดที่ต้องพิจารณาเกี่ยวกับรายการที่มีผลกระทบต่อการปิดบัญชี และการจัดทำงบการเงิน
  • บัญชีเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด ปริมาณและความสมดุลของรายการกับประเภทของกิจการ
  • บัญชีลูกหนี้ กับบัญชีรายได้ จุดที่ควรพิจารณาความสัมพันธ์ของรายการ และการตัดจำหน่าย
  • บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หนี้สูญ มีหลักการพิจารณาอย่างไรให้เหมาะสมกับธุรกิจ
  • บัญชีสินค้าคงเหลือ ประเด็นที่มักพบเมื่อปิดบัญชี สินค้าขาด/เกิน สูญหาย เก่าเก็บ ด้อยค่า เสื่อมสภาพ
  • บัญชีสินทรัพย์ถาวร (ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์) ประเด็นใดบ้างที่ต้องได้รับการทบทวนรายการ 
  • บัญชีหนี้สิน การพิจารณารายการ เกณฑ์ในการรับรู้รายการ และผลกระทบที่เกี่ยวข้อง

  5. ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาดที่มักเกิดขึ้น ณ วันสิ้นรอบบัญชี

  6. แนวปฏิบัติในการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี เช่น อายุการให้ประโยชน์สินทรัพย์ประมาณการหนี้สิ้นสงสัยจะสูญ

  7. แนวปฏิบัติในการแก้ไขข้อผิดพลาดและการปรับปรุงรายการทีเกิดขึ้นในปีปัจจุบัน ปีก่อน

  8. แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดทำงบการเงินย้อนหลังในกรณีที่มีการแก้ไขข้อผิดพลาด เปลี่ยนแปลงประมาณการในรอบบัญชีปัจจุบัน

  9. วิธีประมาณการหนี้สงสัยจะสูญตามมาตรฐานการบัญชี 

  10. ปัญหาการรับรู้หนี้สงสัยจะสูญในงบกำไรขาดทุน

  11. ความแตกต่างของรายการหนี้สงสัยจะสูญตามหลักการปฏิบัติมาตรฐานการบัญชี กับหลักการภาษีอากร ผลกระทบที่นักบัญชีควรทราบ

  12. ณ วันสิ้นรอบบัญชีกิจการจะวัดมูลค่าสินค้าคงเหลือวิธีใด

  13. แนวปฏิบัติในการใช้มูลค่าสุทธิที่จะได้รับกับราคาทุนของสินค้าคงเหลือ

  14. กิจการรับรู้มูลค่าสินค้าคงเหลือเป็นค่าใช้จ่ายเมื่อใด

  15. การกลับรายการของมูลค่าสินค้าคงเหลือที่ปรับลดและรับรู้ต้นทุนขาย

  16. ความแตกต่างของรายการสินค้าคงเหลือแนวปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี กับความแตกต่างของหลักการภาษี ผลกระทบของการปฏิบัติ และมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้อง

  17. การวัดมูลค่าเริ่มแรกและภายหลังการได้มาของเงินลงทุนจะปฏิบัติอย่างไร

  18. กรณีใดที่กิจการจะต้องตั้งค่าเพื่อการลดมูลค่าของเงินลงทุน

  19. การรับรู้รายการเงินลงทุนสำหรับกิจการ PAEs และ NPAEs และการเปิดเผยรายการในงบการเงิน

  20. การรับรู้รายการและการวัดมูลค่าของที่ดินอาคารและอุปกรณ์

  21. ปัญหาการแลกเปลี่ยนและการตีราคาสินทรัพย์

  22. การคิดค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ ณ วันสิ้นรอบบัญชี

  23. มาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ที่นักบัญชีควรระมัดระวังในการปิดบัญชี

  24. การตั้งประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นแนวปฏิบัติที่สำคัญ ผลกระทบและจุดที่ต้องพิจารณาในการตั้งประมาณการ

  25. เหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงานแนวปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี

  26. รายได้และการวัดมูลค่า

  27. การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศเป็นเงินตราไทย ณ วันสิ้นรอบบัญชี

  28. มาตรฐานการบัญชีที่จำเป็นต้องใช้พิจารณาเพื่อการปิดบัญชี สำหรับการแปลงค่าเงินตราต่างประเทศเป็นเงินตราไทย จุดที่นักบัญชีควรทราบเป็นแนวปฏิบัติ

  29. คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี


กำหนดการอบรม


ศุกร์ที่ 27 ตุลาคม 2560
เวลา 09.00-16.30 น.


โรงแรมคิงปาร์ค

อัตราค่าสัมมนา


สมาชิกวารสารธรรมนิติ (Tax/HR/CPD)

1,284 บาท
(รวม Vat)


 
บุคคลทั่วไป
1,712 บาท (รวม Vat) 


จองอบรมหลักสูตรนี้ »


 
 

ภาษีอากร | การบัญชี-การเงิน | หลักสูตรราคาพิเศษ | ทรัพยากรมนุษย์-กฎหมายแรงงาน | บริหารจัดการ-กฎหมายธุรกิจ
Telephone (02) 555-0700 Press 1 or (02) 556-0600 Fax (02) 556-1611
Copyright © 2013 Dharmniti Seminar and Training Co., Ltd. | All Rights Reserved.
 
FaLang translation system by Faboba