การจัดเก็บภาษีของสรรพากรในรูปแบบใหม่และการตรวจสอบภาษี Pre-Audit ในปี 2560 (30 ส.ค. 60)

โดย

 





การจัดเก็บภาษีของสรรพากรในรูปแบบใหม่และการตรวจสอบภาษี
Pre-Audit ในปี 2560

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี  อื่นๆ 6ชม.
ผู้สอบบัญชี อืนๆ 6 ชม.



 • เริ่มตรวจจริง ต.ค. 60 เป็นต้นไป
 • ความน่ากลัวจากการตรวจสอบภาษีด้วยเครื่องมือและวิธีการRBA (Risk Based Audit System)
 • การตรวจสอบภาษีในยุค4.0 National E-payment
 • การตรวจสอบภาษีด้วยเครื่องมือและวิธีการRBA (Risk Based Audit System)
 • เตรียมรับมือกับการปฏิบัติการจริงของสรรพากรจากเกณฑ์ความเสี่ยง 132 เกณฑ์ มีอะไรบ้างที่ต้องระวังเป็นพิเศษ!

 วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านกฎหมายภาษีอากรและการตรวจสอบภาษี

หัวข้อสัมมนา


  1. ด่วนที่สุด! กับการจัดเก็บภาษีรูปแบบใหม่ของสรรพากรที่อ้างว่าติดเกณฑ์  
  • “ติดเกณฑ์” เป็นอย่างไร มีวิธีตรวจสอบและจัดเก็บภาษีอย่างไร มีความสำคัญแค่ไหนกับกิจการ 
  • การตรวจกรณีติดเกณฑ์ ตรวจแบบไหน ตรวจใคร และมีหลักเกณฑ์การตรวจแบบใด
  • แบบไหน ถือเป็นความเสี่ยงสำหรับกิจการ ที่ต้องระมัดระวังที่สุด จากการตรวจสอบแบบใหม่ของสรรพากร
  • การยื่นแบบทางInternet มีผลอย่างไรต่อการตรวจรูปแบบใหม่ ทำไมสรรพากรต้องให้ยื่นทางInternet 
  • ประเด็นใดที่เห็นในงบการเงินแล้วสรรพากรต้องตรวจทุกราย
  • ทำอย่างไรไม่ให้งบการเงินติดเกณฑ์ เพื่อป้องกันการถูกตรวจสอบตามหลักเกณฑ์ใหม่ และให้ได้รับคืนภาษีเร็วขึ้น
  • การตรวจสอบ ประเด็นใดเจรจาต่อรองได้
  • พลาดไม่ได้! สิ่งที่ผู้ประกอบการต้องเตรียมรับมือกับการตรวจรูปแบบใหม่ของสรรพากร

  2. การตรวจสอบแบบPre-Audit ของสรรพากร
  • วิธีการตรวจแบบPre-Audit
  • สิ่งที่สรรพากรขอดูเพื่อใช้ในการตรวจสอบ
  • รายการที่ให้บวกกลับ - ขอยอดขาย
  • ให้ยื่นงบการเงินไปก่อนแต่ปรับรายการในแบบภ.ง.ด. 50, 51 ใหม่
  • การเจรจากับเจ้าหน้าที่เมื่อถูกตรวจแบบPre-Audit

  3. แนวการตรวจสอบของสรรพากรจุดที่ผู้เสียภาษีต้องระวังเป็นพิเศษ 
  • การกำกับดูแลผู้เสียภาษี 
  • การตรวจสภาพกิจการ
  • นโยบายการตรวจสอบภาษี
  • นโยบายการคืนภาษี
  • การตรวจสอบหลังยื่นแบบ ภ.ง.ด. 50 เจ้าหน้าที่มักตรวจสอบอะไร
  • ตรวจสอบกิจการที่มีผลขาดทุนติดต่อกันหลายปี

  4. มาตรการในการตรวจสอบภาษีตามแนวนโยบายใหม่ของสรรพากร

  5. รายการตัวอย่างที่ท่านต้องตรวจสอบธุรกิจของตนเองก่อนที่สรรพากรเข้าตรวจสอบพร้อมประเด็นที่น่าสนใจเป็นพิเศษเช่น 
  • การตรวจสอบรายได้ สรรพากรมีวิธีการตรวจสอบอย่างไร
     - เป็นเจ้าหนี้เงินกู้ยืมแต่ไม่มีรายรับดอกเบี้ย
  • การตรวจสอบรายจ่ายต้องห้าม
     - รายจ่ายส่วนตัว, ให้โดยเสน่หา
     - รายจ่ายที่ไม่เกี่ยวเนื่องกับกิจการ
     - รายจ่ายที่พิสูจน์ผู้รับไม่ได้
     - รายจ่ายที่ไม่ได้มีการจ่ายจริง
  • การตรวจสอบใบกำกับภาษี
     - ใบกำกับภาษีซื้อ, ใบกำกับภาษีขาย อย่างไรที่ก่อให้เกิดปัญหา
     - รับใบกำกับภาษีมาจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นใบกำกับภาษีปลอม
     - ใช้ใบแทนใบกำกับภาษีบ่อยๆ
  • รายงานภาษีขายมีข้อสังเกตอย่างไร รายงานภาษีซื้อมีข้อพึงระวังอย่างไร
  • รายงานสินค้าวัตถุดิบต้องระวังอะไรเป็นพิเศษ
  • การยื่นแบบขอคืนภาษีซื้อบ่อยๆ
  • การตรวจสอบแบบ ภพ. 30 
  • รายได้ใน ภ.พ.30 มากกว่า รายได้ในแบบ ภ.ง.ด.50 ถือเป็นประเด็นในการเข้า ตรวจของสรรพากรหรือไม่

  6. การตรวจสอบการยืนยันยอด 
  • เงินสดย่อย 
  • เงินฝาก
  • ยอดเจ้าหนี้ - ลูกหนี้

  7. การตรวจนับสินค้า, ส่วนสูญเสีย, เศษซากในการผลิตและสินค้าไม่ได้มาตรฐาน
 
  8. ยิ่งมีบริษัทในเครือมากยิ่งเป็นประเด็นในการที่สรรพากรจะเข้าตรวจสอบ ใช่หรือไม่

  9. แหล่งข้อมูลชั้นยอดที่สรรพากรมักใช้ในการตรวจสอบ

  10. งบการเงินมีผลกับการตรวจสอบของกรมสรรพากรอย่างไร

  11. กรณีมีการตรวจสอบต้องปฏิบัติอย่างไร เตรียมเอกสารอย่างไรเปิดเผยวิธี บรรเทาภาระภาษีหรือการชี้แจงกรณีสรรพากรพบความผิด

  12. การอุทธรณ์การประเมินภาษี การขอลดเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม

  13. การตรวจสอบภาษีในยุคNational E-payment

  14. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี


กำหนดการอบรม


พุธที่ 30 สิงหาคม 2560
เวลา 09.00-16.30 น.

โรงแรมปทุมวันปริ๊นเซส
(ติดห้างมาบุญครองเซ็นเตอร์) ถ.พญาไท

อัตราค่าสัมมนา


สมาชิกวารสารธรรมนิติ (Tax/HR)

4,280 บาท
(รวม Vat)

บุคคลทั่วไป
5,029 บาท (รวม Vat) 


จองอบรมหลักสูตรนี้ »
  

ภาษีอากร | การบัญชี-การเงิน | หลักสูตรราคาพิเศษ | ทรัพยากรมนุษย์-กฎหมายแรงงาน | บริหารจัดการ-กฎหมายธุรกิจ
Telephone (02) 555-0700 Press 1 or (02) 556-0600 Fax (02) 556-1611
Copyright © 2013 Dharmniti Seminar and Training Co., Ltd. | All Rights Reserved.
 
FaLang translation system by Faboba