เจาะประเด็นสำคัญการตรวจสอบใบกำกับภาษีปลอม และเอกสารหลักฐานค่าใช้จ่ายของกิจการ พร้อมแนวทางป้องกันที่ไม่ควรพลาด (23 ส.ค. 60)

โดย
suggest744 ใบกำกบภาษปลอม


เจาะประเด็นสำคัญการตรวจสอบใบกำกับภาษีปลอม
และเอกสารหลักฐานค่าใช้จ่ายของกิจการ
พร้อมแนวทางป้องกันที่ไม่ควรพลาด

 

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี  อื่นๆ รอชม.
ผู้สอบบัญชี  อื่นๆ รอ ชม.

 

วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

 • ด่วนที่สุด บังคับใช้ 1 ก.ย. 60 โทษจำคุก 7 ปี ตรวจพบใบกำกับภาษีปลอม 1 ใบ ส่งดำเนินคดีอาญาทันที
 • รู้ไว้ไม่ติดคุก!! อย่างไร“มีเจตนา” หรือ“ไม่มีเจตนา” ใช้ใบกำกับภาษีปลอม โทษจำคุก7 ปี
 • รู้จัก รู้เท่าทัน รู้ระวัง รู้ป้องกัน ใบกำกับภาษีปลอม และเอกสารหลักฐานในการลงรายจ่ายเท็จ
 • 6 ลักษณะใบกำกับภาษี ใบกำกับภาษีปลอมที่กิจการต้องรู้!!!
 • ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้และเอกสารหลักฐานในการลงรายจ่ายที่ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วนหรือไม่สมบูรณ์

 

หัวข้อสัมมนา

  1. อย่างไรเรียกว่าใบกำกับภาษีปลอม และเอกสารหลักฐานการลงรายจ่ายเท็จ
   - ใบกำกับภาษีปลอมในความหมายของสรรพากรที่นักบัญชีและกิจการไม่ควรพลาด
   - ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ที่ออกโดยไม่มีสาเหตุ

  2. 6 ลักษณะของใบกำกับภาษี/ ใบกำกับภาษีปลอมที่กิจการต้องรู้!!!
   - ปลอมทั้งฉบับ
   - ปลอมแปลงบางส่วน
   - ผู้ออกใบกำกับภาษีเข้าสู่ระบบVAT แต่ไม่ได้ขายหรือให้บริการ
   - ผู้ออกใบกำกับภาษีไม่ได้เข้าสู่ระบบVAT แต่ขายหรือให้บริการสินค้านั้น ๆ
   - คนขายออกใบกำกับภาษีให้กับผู้ติดต่อซื้อสินค้าจากลูกค้า
   - ผู้ขาย ผู้ออกไม่มีตัวตน

  3. จุดสังเกตุหรือข้อพิจารณาใบกำกับภาษีที่ได้รับเป็นใบกำกับภาษีปลอม ใบกำกับภาษีที่ออกโดยไม่มีสิทธิ ออกหรือไม่
   - นักบัญชีจะทราบได้อย่างไรว่าใบกำกับภาษีที่ได้รับเป็นใบกำกับภาษีปลอม
   - ปัจจัยหรือแนวโน้มที่บ่งชี้ถึงใบกำกับภาษีที่ได้รับใบกำกับภาษีที่นำไปใช้เป็นใบกำกับภาษีปลอม
   - ประเภทกิจการหรือลักษณะกิจการที่เสี่ยงต่อการใช้ใบกำกับภาษีปลอม
   - ประเภทสินค้าที่มีความเสี่ยงสูง
   - การซื้อสินค้าจากสถานที่ที่ไม่น่าเชื่อถือ
   - ใบกำกับภาษีที่ไม่มีคำว่า“เล่มที่” ถือเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นใบกำกับภาษีปลอมหรือไม่

  4. เอกสารหลักฐานค่าใช้จ่ายของกิจการที่นักบัญชีต้องระวัง
   - เอกสารหลักฐานในการลงรายจ่ายเท็จในความหมายของสรรพากรมีลักษณะอย่างไร
    * รายงานสินค้าและวัตถุดิบ(การบันทึกรับสินค้า)
    * ใบส่งของ
    * บิลเงินสด, บิลค่าน้ำมัน, บิลค่าทางด่วน, บิลค่าโทรศัพท์
    * ค่าที่พักของเซลล์ หรือพนักงานของบริษัทที่ออกไปปฏิบัติงานต่างจังหวัด
    * เอกสารหลักฐานการในการลงรายจ่ายออกไม่ถูกต้อง ออกไม่ครบถ้วนหรือเป็นเอกสารหลักฐานเท็จหรือไม่

  5. ผู้ประกอบการ ผู้ทำบัญชีจะตรวจสอบใบกำกับภาษีปลอมเอกสารหลักฐานค่าใช้จ่ายของกิจการได้อย่างไร
   - จะหาข้อเท็จจริงว่าปลอมได้จากไหน
   - การสอบยันผู้ออกใบกำกับภาษีทำได้รหือไม่
   - การพิสูจน์ใบกำกับภาษีปลอมหรือใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้ไม่มีสิทธิออก

  6. เมื่อเจอใบกำกับกำภาษีปลอมหรือใบกำกับภาษีใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ เอกสารหลักฐานการลงรายจ่ายที่ออก โดยไม่ชอบจะต้องดำเนินการอย่างไรจะแก้ไขอย่างไร
   - ได้รับใบกำกับภาษีมาแต่มาทราบภายหลังว่าเป็นใบกำกับภาษีปลอม และไม่สามารถติดต่อผู้ออกใบกำกับภาษีได้ หรือผู้ออกใบกำกับภาษีไม่ออกใหม่ให้จะทำอย่างไร

  7. โทษและความรับผิดกรณีการออกใบกำกับภาษีปลอมหรือใบกำกับภาษีที่ออกโดยไม่มีสิทธิออก
   - โทษทางทางแพ่ง
   - โทษทางอาญา
   - ฐานความผิดในด้านผู้ออกและผู้รับใบกำกับภาษีปลอม หรือใบกำกับภาษีที่ออกโดยไม่มีสิทธิออกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
   - ชำระโทษทางเแพ่งหมด โทษทางอาญาจะระงับหรือไม่

  8. แนวทางในการพิจารณาความผิดในการใช้ใบกำกับภาษีปลอมและการปลอมแปลงเอกสารของสรรพากร

  9. ประเด็นปัญหาการออกและใช้ใบกำกับภาษีปลอม, เอกสารหลักฐานการลงรายจ่ายที่ไม่ถูกต้อง, ไม่ครบถ้วน
   - การนำใบกำกับภาษีปลอมไปใช้ในการเครดิตภาษี
    * หากผู้รับใบกำกับภาษีปลอมไม่ทราบว่าเป็นใบกำกับภาษีปลอม และไม่มีเจตนาที่จะนำใบกำกับภาษีปลอมไปใช้ในการ เครดิตภาษีจะมีแนวทางชี้แจงต่อกรมสรรพากรอย่างไร
    * นำใบกำกับภาษีปลอมบางส่วนมาใช้ในการคำนวณภาษี
  - ใบกำกับภาษีปลอม หรือใบกำกับภาษีที่ออกโดยไม่มีสิทธิออกสามารถนำมาเป็นหลักฐานในการลงรายจ่ายได้หรือไม่
  - กรณีนำใบลดหนี้ ใบเพิ่มหนี้ที่ออกโดยไม่มีสาเหตุตามที่สรรพากรกำหนดมาใช้

  10. สรรพากรมีแนวทางในการดำเนินการตรวจสอบใบกำกับภาษีปลอมของกิจการอย่างไร
   - การประเมินความเสี่ยงการใช้ใบกำกับภาษีปลอมในกิจการของสรรพากร
   - การตรวจดูใบกำกับภาษีที่เป็นข้อสังเกต
   - แนวทางแก้ไขเมื่อสรรพากรตรวจพบใบกำกับภาษีปลอม
    * สรรพากรมีแนวทางอนุโลมหรือไม่หากพบใบกำกับภาษีปลอมที่มาใช้ในกิจการเพียงเล็กน้อยหรือสามารถ  พิสูจน์ตัวผู้ ออกใบกำกับภาษีได้
   - กรมสรรพากรมีแนวทางพิจารณาอย่างไรหรือไม่ว่า“มีเจตนา” หรือ“ไม่มีเจตนา”ใช้ใบกำกับภาษีปลอม

 11. แนวคำพิพากษาวินิจฉัยที่น่าสนใจของการใช้ใบกำกับภาษีปลอม

 12. การวางเพื่อป้องกันใบกำกับภาษีปลอมและเอกสารหลักฐานค่าใช้จ่ายอื่นของกิจการ

 13. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยายบรรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี


กำหนดการอบรม


พุธที่ 23 สิงหาคม 2560
เวลา 09.00-16.30 น.


โรงแรมแอมบาสซาเดอร์

อัตราค่าสัมมนา


สมาชิกวารสารธรรมนิติ (Tax/HR)

4,066 บาท
(รวม Vat)


 
บุคคลทั่วไป
4,815 บาท (รวม Vat) 


จองอบรมหลักสูตรนี้ »
  01 17008 Pre Audit
  201707 650 33

ภาษีอากร | การบัญชี-การเงิน | หลักสูตรราคาพิเศษ | ทรัพยากรมนุษย์-กฎหมายแรงงาน | บริหารจัดการ-กฎหมายธุรกิจ
Telephone (02) 555-0700 Press 1 or (02) 556-0600 Fax (02) 556-1611
Copyright © 2013 Dharmniti Seminar and Training Co., Ltd. | All Rights Reserved.
 
FaLang translation system by Faboba