หลักเกณฑ์ใหม่...การยกเว้นภาษีจากการโอนทรัพย์สินเพื่อแปรสภาพธุรกิจจากบุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล (24 ส.ค. 60)

โดย
201704 650 25

หลักเกณฑ์ใหม่...การยกเว้นภาษีจากการโอนทรัพย์สินเพื่อแปรสภาพธุรกิจจากบุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญเป็นบริษัท
หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี  อื่นๆ รอ ชม.
ผู้สอบบัญชี  อื่นๆ รอ ชม.


 • ด่วน! หลักเกณฑ์การโอนทรัพย์สินจากบุคคลธรรมดา คณะบุคคล และห้างหุ้นส่วนสามัญ เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเพื่อใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี
 • การวางแผนเพื่อให้ได้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามหลักเกณฑ์ของกรมสรรพากร

 วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษีอากร

หัวข้อสัมมนา

  1. การวางแผนการจัดตั้งเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
  • แนวทางการแปรสภาพจาก บุคคลธรรมดา /คณะบุคคล/ ห้างหุ้นส่วนสามัญ--> บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
  • จะเป็นบริษัทจำกัดคนเดียว ต้องเตรียมตัวอย่างไรเมื่อกฎหมายมีผลใช้บังคับ!
  • วิเคราะห์ข้อดี-ข้อเสีย

  2. หลักเกณฑ์การยกเว้นเงินได้ให้บุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญ กรณีแปรสภาพเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ใช้สิทธิประโยชน์ได้เหมือนกันหรือไม่อย่างไร 
  • ค่าจ้างทำบัญชี 
  • ค่าสอบบัญชี 
  • ภาษีเงินได้
  • ภาษีมูลค่าเพิ่ม 
  • ภาษีธุรกิจเฉพาะ 
  • อากรแสตมป์

  3. ขั้นตอนและวิธีการจำแนกประเภททรัพย์สินของบุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญ ก่อนโอนกิจการ 
  • สินค้า วัตถุดิบ 
  • ที่ดิน อาคาร 
  • รถยนต์เครื่องจักร 
  • ทรัพย์สินอื่น 

  4. หลักเกณฑ์การกำหนดราคาโอนทรัพย์สินแต่ละประเภท เพื่อแปลงเป็นทุนจดทะเบียน 
  • ราคาตลาดใช้กับทรัพย์สินประเภทใดบ้าง 
  • การโอนอสังหาริมทรัพย์มีสิทธิเลือกใช้ราคาประเมิน ราคาต้นทุนในการซื้อตามสัญญาหรือราคาตลาดได้หรือไม่ อย่างไร
  • การโอนที่ดิน อาคาร กำหนดราคาโอนสูงกว่าราคาประเมินได้ต้องใช้เอกสารใดมาแสดงต่อสรรพากร

  5. การโอนทรัพย์สินส่วนตัว เช่น บ้านหรืออาคารที่ใช้ประกอบกิจการ รถยนต์ของตนเองที่ใช้ในการส่งสินค้ามีหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติอย่างไร จะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี 
  • จำนวนการถือหุ้น มูลค่าหุ้น เงื่อนไขการโอนหุ้น 
  • การกำหนดราคาโอน การหาราคาตลาด 
  • การตรวจสอบราคาประเมินทรัพย์สินประเภทที่ดินหรือที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง

  6. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการลงรายจ่ายได้ 2 เท่าของบริษัทผู้รับโอน 
  • เอกสารหลักฐานที่ต้องจัดทำ 
  • วิธีการลงรายจ่ายได้ 2 เท่า ต้องแยกกรอกในแบบ ภ.ง.ด. 50 อย่างไร

  7. ปัญหาการลงรายจ่ายได้ 2 เท่าและหักค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินบริษัทผู้รับโอน 
  • ทรัพย์สินใดบ้างที่ไม่ต้องนำไปหักค่าเสื่อมราคาอีก 
  • ทรัพย์สินใดบ้างที่ลงรายจ่ายได้ 2 เท่า โดยต้องนำไปหักค่าเสื่อมราคาด้วยจะบันทึกบัญชีอย่างไร

  8. วิธีการจัดทำหนังสือรับรองการโอนอสังหาริมทรัพย์เพื่อใช้เป็นทุนในการจดทะเบียนบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล 
  • ขั้นตอนการดำเนินการโอนทรัพย์สิน การจดทะเบียนโอนกับหน่วยงานราชการ 
  • ขั้นตอนการจดแจ้งกับสรรพากร 
  • ระยะเวลาในการใช้สิทธิพร้อมยื่นหนังสือรับรองการโอนอสังหาริมทรัพย์ 
  • โอนก่อนแล้ว จัดทำหนังสือรับรองการโอนอสังหาริมทรัพย์ย้อนหลังเพื่อใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีได้หรือไม่ 
  • โอนอสังหาริมทรัพย์ภายใน 31 ธันวาคม 2560 แต่ยื่นจัดทำหนังสือรับรองการโอนอสังหาริมทรัพย์ปี 2561 ได้หรือไม่

  9. เมื่อตั้งเป็นบริษัทจำกัดคนเดียวแล้ว แปรสภาพเป็นบริษัทจำกัดหรือเลิกกิจการมีผลกระทบและภาระภาษีหรือไม่อย่างไร 

  10. มาตรการป้องกันและการตรวจสอบการหลบหลีกภาษีของสรรพากร 

  11.คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี


กำหนดการอบรม


พฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม 2560
เวลา 09.00-16.30 น.

โรงแรมอมารี บูเลอวาร์ด สุขุมวิทซ.5

อัตราค่าสัมมนา


สมาชิกวารสารธรรมนิติ (Tax/HR)

3,745 บาท
(รวม Vat)

บุคคลทั่วไป
4,494 บาท (รวม Vat) 


จองอบรมหลักสูตรนี้ »


 
 

ภาษีอากร | การบัญชี-การเงิน | หลักสูตรราคาพิเศษ | ทรัพยากรมนุษย์-กฎหมายแรงงาน | บริหารจัดการ-กฎหมายธุรกิจ
Telephone (02) 555-0700 Press 1 or (02) 556-0600 Fax (02) 556-1611
Copyright © 2013 Dharmniti Seminar and Training Co., Ltd. | All Rights Reserved.
 
FaLang translation system by Faboba