โดยวิทยากร อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร ดร.สิงห์ชัย อรุณวุฒิพงศ์ ดร.สมชาย เลิศภิรมย์สุข ดร.ภูษิต วงศ์หล่อสายชล ดร.สมศักดิ์ ประถมศรีเมฆ รศ.สริตา บุนนาค อาจารย์อดิศักดิ์ สืบประดิษฐ์ และอาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์
โครงการอบรมที่จะทำให้ท่านเป็น • นักบัญชีมืออาชีพยุคใหม่ที่ Smart พร้อมในทุกๆ ด้าน • UPDATE ข้อมูลใหม่ๆ ทันต่อเหตุการณ์ การเปลี่ยนแปลงทางด้านบัญชีและภาษีอากร • เนื้อหาที่เข้มข้น ครบถ้วนทุกประเด็นที่นักบัญชีต้องทราบ • เรียนรู้ CASE STUDY และ ลงมือทำ Workshop จากข้อมูลปฏิบัติจริง
หัวข้อสัมมนา
1. นักบัญชีมืออาชีพกับการพัฒนาศักยภาพเพื่อก้าวสู่การเป็นนักบัญชีบริหารอย่างมืออาชีพ • การสร้างมูลค่างานบัญชี • การทำงาน เสนองานบัญชีกับนายจ้างต่างชาติ • การเป็นนักบัญชีมืออาชีพที่รอบรู้ทั้งบัญชีและภาษี • การเปลี่ยนแปลงบทบาทของนักบัญชี
2. การพัฒนาปรับปรุงการจัดทำรายงานการบัญชีและการเงินอย่างมืออาชีพ • ความสำคัญในการจัดทำรายงานการบัญชีและการเงิน • รายงานการเงินที่นักบัญชีจะต้องทำเพื่อประโยชน์ต่อการตัดสินใจและการบริหารกิจการ • การจัดทำรายงานการเงินเพื่อสนองต่อความต้องการของฝ่ายบริหารให้ได้รับประโยชน์สูงสุด • ผลกระทบต่อการจัดทำรายงานการเงินที่ไม่ถูกต้องสมบูรณ์และไม่ทันตามกำหนดเวลาที่ผู้บริหารต้องการ 3. เจาะลึกการปรับปรุงและพัฒนาการวางระบบบัญชีให้ได้ประโยชน์ต่อกิจการสูงสุด • การวางระบบบัญชีให้ประสบความสำเร็จจะต้องพิจารณาปัจจัยอะไรบ้าง • เมื่อนำระบบบัญชีออกมาใช้ จะต้องมีการติดตาม ปรับปรุง พัฒนาระบบงานบัญชีอย่างไรให้สอดคล้องการกิจการ • ข้อควรระมัดระวังในการวางระบบเอกสารหลักฐานทางบัญชีและภาษีอากร ประเด็นความผิดพลาดที่มักเกิดขึ้น • เจาะลึกการวางระบบบัญชีอย่างมืออาชีพ เช่น ระบบสินค้าคงเหลือ ระบบทรัพย์สิน ระบบเงินสดรับ-จ่าย ระบบลูกหนี้และเจ้าหนี้ 4. การควบคุมภายในและแนวทางป้องกันการเกิดทุจริตในองค์กร • นักบัญชีมีบทบาทต่อการควบคุมภายในเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้องค์กรได้อย่างไร • การวางระบบควบคุมภายในของระบบปฏิบัติการต่าง ๆ ในองค์กรและการนำออกใช้ • เทคนิคการวางระบบควบคุมภายในให้เชื่อมโยงกับการป้องกันการเกิดทุจริต • แนวทางการควบคุมภายในที่ดีเพื่อป้องกันการทุจริต • เทคนิคการประเมินความเสี่ยงของการเกิดทุจริตและเครื่องมือที่ใช้ประเมินความเสี่ยงในระบบต่างๆ
5. มาตรฐานการบัญชีที่สำคัญและจำเป็นต่อนักบัญชีและมาตรฐานการบัญชีที่กระทบต่อทุกธุรกิจ (PAEs และ NPAEs) • Update มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่บังคับใช้ในปี 2559 และแนวปฏิบัติที่สำคัญ • ก้าวทันมาตรฐานรายงานทางการเงินฉบับใหม่ที่จะถูกนำมาใช้ในอนาคต • การเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จะส่งผลกระทบต่องบการเงิน • เจาะลึกมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่นักบัญชีจะต้องให้ความสำคัญและปฏิบัติตาม • ประเด็นปัญหาที่มักพบในการจัดทำบัญชี แนวปฏิบัติที่ถูกต้องสำหรับกิจการ PAEs , NPAEs • เตรียมพร้อมสำหรับการนำ IFRS for SMEs มาใช้ในปี 2560
6. กลยุทธ์การจัดทำงบประมาณเพื่อวางแผนและควบคุม • ความจำเป็นและความสำคัญที่กิจการจะต้องจัดทำงบประมาณ • ประเภทของงบประมาณที่สำคัญของธุรกิจที่นักบัญชีไม่ควรมองข้าม • การกำหนดรูปแบบของงบประมาณให้สอดคล้องกับธุรกิจและนำไปใช้ได้จริงในกิจการ • เจาะลึกวิธีปฏิบัติ (Work Shop) ในการจัดทำงบประมาณเพื่อการวางแผนและควบคุม • เจาะลึกวิธีปฏิบัติ (Work Shop) ในการจัดทำงบประมาณเพื่อการวางแผนและควบคุม • เทคนิคการใช้งบประมาณเพื่อการควบคุมต้นทุนและสร้างกำไรให้แก่ธุรกิจ
7. วิเคราะห์งบการเงินเพื่อการตัดสินใจและบริหาร • ความสำคัญและความจำเป็นในการวิเคราะห์งบการเงินที่นักบัญชีต้องคำนึงถึง • ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิเคราะห์งบการเงินต่อกิจการและนักบัญชี • ประเภทของการวิเคราะห์งบการเงิน และการเลือกวิธีวิเคราะห์งบการเงินอย่างไรจึงจะทำให้ได้รับประโยชน์สูงสุด • สิ่งที่ผู้บริหารคาดหวังจากรายงานวิเคราะห์งบการเงิน • เทคนิควิเคราะห์งบการเงินเพื่อตัดสินใจและบริหาร • เทคนิคการใช้อัตราส่วนทางการเงินในการวิเคราะห์ปัญหา ตรวจสอบและพยากรณ์แนวโน้มของธุรกิ • เทคนิคการนำผลการวิเคราะห์งบการเงินของกิจการตนเอง คู่แข่งลูกค้า ให้ได้รับประโยชน์สูงสุด • การนำข้อมูลจากการวิเคราะห์ไปใช้ในการวางแผนและตัดสินใจเพื่อเสนอแนะผู้บริหาร
8. มองภาษีอย่างมืออาชีพ ...Update กฎหมายภาษีอากร • ความรู้และความจำเป็นของภาษีอากรที่นักบัญชีมืออาชีพต้องทราบ • ประเด็นความผิดพลาดและภาระภาษีที่กิจการมักถูกประเมิน • UPDATE กฎหมายภาษีอากรที่ออกใหม่ • ภาระภาษีอากรที่นักบัญชีมืออาชีพต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ ภาษีเงินได้นิติบุคคล • หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิ • รายได้และรายจ่ายที่ลดลงมีผลต่อการตรวจสอบของสรรพากรอย่างไร • การรับรู้รายได้และรายจ่าย และการยกเว้นภาษี • รายจ่ายที่ถือเป็นรายจ่ายได้เพิ่มขึ้นจากที่จ่ายจริงและสิทธิประโยชน์ทางภาษี • การแก้ไขปัญหาของรายจ่ายต้องห้ามเพื่อให้สรรพากรยอมให้ถือเป็นรายจ่ายได้ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย • วางระบบหักภาษี ณ ที่จ่ายเพื่อการทำงานที่ถูกต้อง • หลักเกณฑ์ที่สำคัญในการหักภาษี ณ ที่จ่าย และประเด็นที่นักบัญชีจะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ • บทกำหนดโทษในกรณีไม่ได้หักภาษี หรือ หักไม่ครบ ไม่ถูกต้อง • เงินได้ที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายและเงินได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย • สารพันปัญหาการหักภาษี ณ ที่จ่าย เช่น รับจ้างทำของ ค่าขนส่ง ค่าเช่า ภาษีมูลค่าเพิ่ม • ความรับผิดและฐานภาษีในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม • ปัญหาการออกใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้และใบลดหนี้ ตามหลักเกณฑ์ใหม่ • จัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่มตามหลักเกณฑ์ใหม่ • ภาษีซื้อและภาษีซื้อต้องห้าม • ข้อควรระมัดระวังความผิดพลาดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มที่มักถูกสรรพากรประเมิน ภาษีธุรกิจเฉพาะ • กิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะและที่ได้รับยกเว้น • อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะและข้อยกเว้น • จุดที่บริษัททั่วไปต้องระวังเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะ • ปัญหาการทำกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ • ข้อควรระวังเกี่ยวกับอากรแสตมป์
9. ประเด็นความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการบัญชี TAS มาตรฐานรายงานการเงิน IFRS และประมวลรัษฎากร (Revenue Code) • เทคนิคการจัดระบบการตรวจสอบภาษีอากรที่นักบัญชีควรจัดทำมีอะไรบ้าง • หลักเกณฑ์ในการปรับปรุงกำไรสุทธิที่มาตรฐานการบัญชีแตกต่างกับประมวลรัษฎากรแนวปฏิบัติที่สำคัญ • ผลกระทบต่อความแตกต่างของมาตรฐานการบัญชีกับภาษีอากรที่ต้องปรับปรุงกำไรสุทธิ (บวกกลับ) มีอะไรบ้างที่ต้องระมัดระวัง TAS 1 การนำเสนองบการเงิน TAS 2 สินค้าคงเหลือ TAS 8 นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด TAS 16 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ TAS 18 รายได้ TAS 19 ผลประโยชน์ของพนักงาน TAS 23 ต้นทุนการกู้ยืม TAS 37 ประมาณการหนี้สิน หนี้สนที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น
|