การตรวจสอบของสรรพากรจากการหลีกเลี่ยงและขอคืนภาษีเท็จพร้อมผลกระทบจากกฎหมายฟอกเงิน 2560 (14 ก.ค. 60)

โดย

 

 

การตรวจสอบของสรรพากรจากการหลีกเลี่ยงและขอคืนภาษีเท็จ
พร้อมผลกระทบจากกฎหมายฟอกเงิน 2560

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี  อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี  อื่นๆ 6 ชม.

  วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษีอากร

  
  • ด่วนที่สุด!!! Update ใหม่ล่าสุด กับการกระทำในทางภาษีที่ถือว่าเป็นความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน มีผลบังคับใช้ 1 เม.ย. 60
  • Update การเพิ่มโทษความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับประมวลรัษฎากรกรณีหลีกเลี่ยงภาษีและการขอคืนภาษี
  • การกระทำใดบ้างในทางภาษีที่จะถือว่าเป็นการกระทำความผิดเดียวกับการฟอกเงิน
  • ใครบ้างที่ต้องรับผิดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน

  หัวข้อสัมมนา

  1. อย่างไร?คือการแจ้งข้อความเท็จ ให้ข้อมูลเท็จ หรือนำพยานหลักฐานเท็จมาแสดง

  2. แค่ไหน? จึงถือว่าเป็นการตอบคำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จ

  3. การหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากรหรือขอคืนภาษีอากรโดยความเท็จโดยวิธีการฉ้อโกงหรือใช้อุบาย หมายถึงอย่างไร ประเด็นใดที่ควรระมัดระวังเพื่อไม่ให้เข้าหลักเกณฑ์
  • การทำโดยการอื่นใดทำนองเดียวกัน ที่จะถือว่าเข้าข่ายความผิดดังกล่าวเช่นเดียวกัน มีตัวอย่างอะไรบ้าง
 
  4. กรณีการละเลยไม่ยื่นแบบแสดงรายการ เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร กับโทษที่เพิ่มหนักขึ้น

  5. กรณีที่ผู้ประกอบการการจดทะเบียนขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นเท็จ ที่จะมีความผิดตามกฎหมายนี้มีเงื่อนไขอย่างไรบ้าง

  6. Update อัตราโทษอย่างหนักจากการให้ข้อมูลเท็จเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษี หรือเพื่อขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม 


  7. Update อาชญากรรมเกี่ยวกับภาษี (Tax Crimes Related to Direct Taxes and Indirect Taxes)ที่จะเป็นความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน(มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 เม.ย. 60)

  8. การกระทำใดบ้างในทางภาษีที่จะถือว่าเป็นการกระทำความผิดเดียวกับการฟอกเงิน

  9.การกำหนดวงเงินที่จะเข้าข่ายความผิดฐานฟอกเงิน
  • วงเงินการหลีกเลี่ยงภาษี
  • วงเงินขอคืนภาษี
  • วงเงินการออกใบกำกับภาษีปลอม

  10.เงื่อนไขพิเศษอันถือเป็นองค์ประกอบสำคัญที่จะถือว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดฐานฟอกเงิน
 
  11.กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน หมายถึงอะไร การกระทำอย่างไรแบบไหนถือว่าเป็นการฟอกเงิน

  12.การสร้างธุรกรรมอันเป็นเท็จหรือการปกปิดเงินได้พึงประเมินหรือรายได้หมายถึงธุรกรรมใดบ้างพร้อมการยกตัวอย่างประกอบเพื่อให้เห็นภาพชัดเจนขึ้น

  13.อย่างไร? คือพฤติกรรมปกปิดหรือซ่อนเร้นทรัพย์สินในทางภาษีอันจะส่อให้เห็นว่าอาจเป็นความผิดฐานฟอกเงินได้

  14.อำนาจประเมินของเจ้าพนักงานประเมิน ตามมาตรา 49 มีความแตกต่างกับกรณีอำนาจของสรรพากรในการตรวจสอบการกระทำทางภาษีที่ถือเป็นความผิดฐานฟอกเงินหรือไม่ อย่างไร

  15.สรรพากรมีอำนาจเต็มแค่ไหน ในการบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้กับผู้ที่กระทำความผิดฐานฟอกเงินจำเป็นต้องส่งให้หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องตรวจสอบอีกหรือไม่

  16. อำนาจในการยึดหรืออายัดทรัพย์สินของสรรพากร รวมถึงการใช้อำนาจอื่นหากเข้าข่ายการฟอกเงินมีได้ในกรณีใดบ้าง
  • ผู้ที่จะถูกสรรพากรยึดหรืออายัดทรัพย์สินมีสิทธิโต้แย้งคัดค้านได้แค่ไหน เพียงไร

  17. โทษจากการกระทำความผิดที่ถือว่าเป็นความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินมีอย่างไรบ้าง ร้ายแรงแค่ไหน

  18. ใครบ้างที่ต้องรับผิดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
  • นิติบุคคลฟอกเงินได้ด้วยหรือไม่
  • นักบัญชี ผู้ทำบัญชี ผู้สอบบัญชี กรรมการบริษัท และผู้บริหาร ต้องร่วมรับผิดด้วยหรือไม่

  19. กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินฉบับนี้มีผลบังคับย้อนหลังหรือไม่???

  20. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี


กำหนดการอบรม

 

ศุกร์ที่ 14 กรกฎาคม 2560
เวลา 09.00-16.30 น.


โรงแรมสวิส โฮเต็ล เลอ คองคอร์ด

อัตราค่าสัมมนา


 
สมาชิกวารสารธรรมนิติ (Tax/HR)
4,280 บาท ( รวม vat ) 


บุคคลทั่วไป
5,029 บาท 
( รวม vat )


จองอบรมหลักสูตรนี้ »


 

ภาษีอากร | การบัญชี-การเงิน | หลักสูตรราคาพิเศษ | ทรัพยากรมนุษย์-กฎหมายแรงงาน | บริหารจัดการ-กฎหมายธุรกิจ

Telephone (02) 555-0700 Press 1 or (02) 556-0600 Fax (02) 556-1611
Copyright © 2013 Dharmniti Seminar and Training Co., Ltd. | All Rights Reserved.
 
FaLang translation system by Faboba