Case Studies จริงที่สรรพากรมักใช้ประเมินภาษี
วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ
หัวข้อสัมมนา
วันที่ 14 มิถุนายน 2560
• ภาระภาษีเงินได้ และ VAT ตามประมวลรัษฎากรไทย
1. บริษัทต่างประเทศ มีหน้าที่เสียภาษี CIT และ VAT ให้ประเทศไทยหรือไม่ เสียอย่างไร • เสียจากฐานกำไรสุทธิ • เสียจากฐานเงินได้ก่อนหักรายจ่าย • การนำส่ง ภ.ง.ด. 54 : ภ.พ. 36
2. บุคคลธรรมดา พนักงานจากต่างประเทศ มีหน้าที่เสียภาษี PIT ให้ประเทศไทยหรือไม่ เสียอย่างไร
3. Tax Point ของ ม.70, ม.70 ทวิ การ convert ใช้อัตราแลกเปลี่ยนใด
4. รูปแบบต่างๆ ที่บริษัทต่างประเทศเข้ามาลงทุนในไทย และ ภาระภาษีของแต่ละรูปแบบ • กรณีไม่เข้ามาในไทย • ส่งคนเข้ามา • กรณีมีตัวแทน Agent / Distributor • กรณีเข้ามามี office • กรณีตั้งสำนักผู้แทน (Representative Office) • กรณีตั้งบริษัทในเครือ • กรณี Joint Venture • กรณี Consortium • ภาระภาษีเงินได้ และ VAT ตามประมวลรัษฎากรไทย
1. เมื่อใดจึงจะใช้อนุสัญญาภาษีซ้อน
2. เทคนิคง่ายๆในการอ่านอนุสัญญาภาษีซ้อน 3. ใครบ้างมีสิทธิใช้อนุสัญญาภาษีซ้อน 4. สาเหตุการเกิดภาษีซ้อน และวิธีแก้ไข 5. ปัญหาการมี PE • บริษัทแม่ ต่างประเทศ ส่งพนักงานมาช่วยงานในไทย จะทำสัญญาอย่างไร ไม่ให้มี PE 6. ความลับบางประการใน DTA • สำนักงานใหญ่ต่างประเทศ กับสาขาในไทยเป็นเสมือนคนละบริษัทใช่หรือไม่ • cost sharing จาก HQ นำมาตัดเป็นรายจ่ายของสาขาในไทย ได้หรือไม่ • สาขาไทยจ่ายเงินไปให้สำนักงานใหญ่ DTA จะถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามหรือไม่ และมี ภงด.54, ภพ.36 หรือไม่ • ปัญหา Cost Sharing จากบริษัทแม่ในต่างประเทศหักรายจ่ายได้หรือไม่ มี ภงด, 54 และ ภพ.36 หรือไม่ • สายเรือต่างประเทศ ไม่มี office ในไทย ยังจะต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่ 7. ปัญหาค่าบริการ VS. ค่าสิทธิ • จ่ายค่าซื้อ CD, ซื้อเครื่องจักร อุปกรณ์ต่างๆ ที่มี software จะถือเป็นค่าสิทธิหรือไม่ • จ่ายค่าปรึกษาธุรกิจ มีบริการสนับสนุนอย่างอื่น ถือเป็นค่าสิทธิหรือไม่ • จ่ายค่าใช้ server, website, lease line internet ต้องหัก ณ ที่จ่าย ส่ง ภงด.54 / ภพ. 36 หรือไม่
8. ขายหุ้น แลกหุ้น ลดทุน เพิ่มทุน ส่วนเกินทุน DTA ถือเป็นเงินได้ข้อใด ต้องหัก ภาษี ณ ที่จ่าย หรือไม่
9. การ Reconcile ภงด.54 กับ ภพ.36 / รายจ่ายไปต่างประเทศ รายการใดต้องมี ทั้ง ภงด.54 และ ภพ.36
10. ส่งพนักงานไปต่างประเทศ ต้องหักภาษีจากเงินเดือนนำส่ง ภงด.1 ด้วยหรือไม่
11. สรุป 3 มาตรการสำคัญของ DTA • รัฐแหล่งเงินได้ต้องยกเว้นภาษี • รัฐแหล่งเงินได้ต้องลดหย่อนภาษี • รัฐถิ่นที่อยู่ของผู้มีเงินได้ต้องยอมเป็นฝ่ายขจัดภาษีซ้ำซ้อน
12. ปัญหาธุรกรรมระหว่างประเทศที่มักพบกระทำผิดบ่อย และการวางแผนภาษีบางกรณี
13. บริษัทข้ามชาติจำเป็นต้องทำ TP Doc หรือไม่ และ 10 ประเด็นความเสี่ยงเรื่อง TP (Transfer Pricing)
14. การตรวจสอบภาษีเรื่อง Transfer Pricing จะรับมืออย่างไร และมีเทคนิคการปรับปรุงกำไรอย่างไรให้กระทบธุรกิจน้อยที่สุด
วันที่ 16 มิถุนายน 2560
• กรณีศึกษา ของภาษีธุรกรรมระหว่างประเทศ และอนุสัญญาภาษีซ้อน และ ทำ case study หรือ Workshop
• ปัญหาการกำหนดราคาโอน หรือ Transfer Pricing (จะเตรียมรับมือการตรวจสอบภาษีราคาตลาดอย่างไร)
1. ความหมาย • วัตถุประสงค์ • รูปแบบ การกำหนดราคาโอน (Transfer Pricing)
2. ประมวลรัษฎากร และ DTA ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี ทำการประเมิน ปรับปรุงราคาโอนหรือไม่
3. วิธีพิสูจน์ราคาตลาด (ราคาโอน) ที่เป็นสากล และที่ผ่านมาสรรพากรยอมรับ
4. วิธีการค้นหา Benchmark หรือ ช่วงกำไรของบริษัทอิสระ ที่จะนำมาเปรียบเทียบ
5. 10ประเด็นความเสี่ยงที่กรมสรรพากรจะเข้ามาตรวจสอบราคาตลาดของเจ้าของกิจการ
6. ถ้ากำไรของท่านต่ำกว่าช่วงราคาตลาดควรจะปรับปรุงอย่างไร ไม่ให้ธุรกิจล้มละลาย
7. บริษัทข้ามชาติ จำเป็นต้องทำ TP Doc หรือไม่
8. กรณีศึกษา Case Study การหาราคาตลาดจากตัวอย่างจริง
|