เทคนิคการเขียนระเบียบข้อบังคับการบริหารทรัพยากรบุคคล (23 พ.ย. 60)
โดย
เทคนิคการเขียนระเบียบข้อบังคับการบริหารทรัพยากรบุคคล
|
≡ หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
|
|
• ให้การเกษียณอายุถือเป็นการเลิกจ้าง และกรณีที่ไม่ได้มีการกำหนดอายุการเกษียณให้นับว่า 60 ปีถือเป็นการเกษียณอายุหรือ ไม่และนายจ้างจะต้องจ่ายเงินชดเชยเท่าไหร่ หากนายจ้างที่จงใจฝ่าฝืนไม่จ่ายเงินชดเชย จะต้องถูกลงโทษทั้งจำทั้งปรับ ทั้งคิดค่า ดอกเบี้ยในการจ่ายเงินล่าช้าปีละ 15% และสามารถคิดอัตราค่าปรับเพิ่มเติมอีก 15% ของเงินต้นทุกๆ 7 วัน เป็นต้น
• การแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 118 กำหนดอัตราค่าชดเชย กรณีนายจ้างเลิกจ้าง สำหรับลูกจ้างทำงานติดต่อกันครบ 20 ปีขึ้นไปได้ ค่าชดเชย 400 วัน จากเดิมกำหนดให้ 10 ปีขึ้นไปได้ค่าชดเชย 300 วัน
• แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 41 กำหนดให้ลูกจ้างเป็นหญิงมีครรภ์มีสิทธิลาเพื่อตรวจรักษาสุขภาพก่อนคลอดบุตร เพิ่มเติมนอกเหนือ จากการลาเพื่อคลอดบุตร
• เพิ่มเติมมาตรา 59 โดยกำหนดให้จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างเป็นหญิงในวันลา เพื่อตรวจรักษาสุขภาพก่อนคลอดบุตรด้วย กล่าวคือ แรงงานหญิงจะไปตรวจครรภ์ก็สามารถลาและได้ค่าจ้างด้วยเช่นกัน ให้รวมทั้งค่าจ้างต้องจ่ายให้ตามกฎหมาย เป็นต้น
• เพิ่มมาตรา 55/1 กำหนดให้นายจ้างต้องจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างในวันลาเพิ่มกิจธุระอันจำเป็น ปีหนึ่งไม่น้อยกว่า 3 วันทำงาน ไม่ว่าจะลาบวชหรือลาเพื่อกิจธุระใดก็ตาม และการเพิ่มเติมมาตรา 13 วรรคสอง กำหนดให้ลูกจ้างมีสิทธิบอกเลิกสัญญาจ้างฯ
วิทยากรอาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
หัวข้อสัมมนา
• เจาะลึกประเด็นหลักของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน ว่าด้วยข้อบังคับการทำงาน
• ความหมายของระเบียบข้อบังคับกับการทำงานคืออะไร
• “สภาพการจ้าง” และ “ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง” จะต้อง ปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน
• หลักเกณฑ์ในการตีความ “พื้นที่สีเทา” ในการจัดทำระเบียบข้อ บังคับการทำงาน
• ขั้นตอนต่างๆ ในการจัดทำระเบียบข้อบังคับการทำงาน - จะต้องมีจำนวนลูกจ้างเท่าไหร่? จึงจะต้องดำเนินการจัดทำ ระเบียบข้อบังคับ - หน้าที่ของนายจ้างหลังจากได้ดำเนินการจัดทำระเบียบข้อ บังคับการทำงาน - กรณีแก้ไขเพิ่มเติม จะต้องปฏิบัติอย่างไร - บทลงโทษ กรณีฝ่าฝืนเกี่ยวกับการจัดทำระเบียบข้อบังคับ
• ประเภทของข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง - ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง กรณีนายจ้างกำหนดขึ้นฝ่ายเดียว - ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง กรณีเกิดจากการแจ้งข้อเรียกร้อง - ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างกรณีทำมาเนิ่นนานจนกลาย ประเพณีหรือกำหนดขึ้นฝ่ายเดียว
• หลักเกณฑ์และวิธีการในการเขียนระเบียบข้อบังคับในการทำงาน ที่ถูกต้องและครบถ้วนตามกฎหมาย
• 8 รายการ หัวใจสำคัญของการเขียนระเบียบข้อบังคับ - วันทำงาน เวลาทำงานปกติและเวลาพัก - วันหยุด และหลักเกณฑ์การหยุด - หลักเกณฑ์การทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด - วันลา และหลักเกณฑ์การลา - วินัยและโทษทางวินัย - การยื่นคำร้องทุกข์ - การเลิกจ้าง ค่าชดเชยและค่าชดเชยพิเศษ
• รายการที่น่าสนใจในการปรับใช้การเขียนระเบียบข้อบังคับใน การทำงาน - นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล - ประเภทพนักงาน การจ้าง และการประทับบัตรบันทึกเวลา - การจ้าง และการบรรจุพนักงาน - สวัสดิการ และเงินช่วยเหลือ - วินัยพนักงาน มาตรการ และบทกำหนดโทษทางวินัย ▶ ส่วนที่ 1 วินัยพนักงาน ▶ ส่วนที่ 2 การพิจารณาความผิดและมาตรการลงโทษทางวินัย ▶ ส่วนที่ 3 การอุทธรณ์การลงโทษ ▶ ส่วนที่ 4 จรรยาบรรณสำหรับพนักงาน - การพ้นสภาพจากการเป็นพนักงาน
• การวางโครงสร้าง ระบบควบคุมเอกสารระเบียบข้อบังคับ แนวปฏิบัติการบริหารทรัพยากรมนุษย์และรูปแบบที่กฎหมาย ให้อิสระในการจัดทำ ซึ่งสามารถนำมาบริหารให้เป็นไปตาม นโยบายองค์กรของนายจ้าง และเสริมสร้างแรงงาน สัมพันธ์ที่ดี
• ข้อควรระวัง ที่ฝ่ายบริหารทรัพยากรมนุษย์จะต้องพึงระวังเพื่อ ป้องกันความผิดพลาดทางกฎหมายแรงงาน
• ประเด็นความคิดเห็น : จากคำพิพากษาศาลฎีกา แผนกคดี แรงงาน ว่าด้วยระเบียบ ข้อบังคับแนวปฏิบัติการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์
• Case Study : กรณีศึกษา จากประสบการณ์ความผิดพลาดที่ องค์กรไม่รู้และไม่สามารถแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบ ข้อบังคับแนว ปฏิบัติการบริหารทรัพยากรบุคคลภายหลัง บทเรียนที่เจ็บปวดที่ ควรตระหนัก พร้อมแนวทางแก้ไขปรับปรุง
• ตัวอย่าง : ระเบียบ ข้อบังคับ แนวปฏิบัติการบริหารทรัพยากร มนุษย์ฉบับสมบูรณ์พร้อมแนะนำไล่เรียงแต่ละบท
|
|
|
กำหนดการอบรม |
พฤหัสบดีที่ 23 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09:00-16:00 น.
โรงแรมเจ ดับบลิว แมริออท กรุงเทพฯ
|
|
อัตราค่าสัมมนา |
สมาชิกวารสารธรรมนิติ (Tax/HR) 9,630 บาท ( รวม vat ) บุคคลทั่วไป 11,700 บาท ( รวม vat ) |
|
|
|
|
|
ภาษีอากร | การบัญชี-การเงิน | หลักสูตรราคาพิเศษ | ทรัพยากรมนุษย์-กฎหมายแรงงาน | บริหารจัดการ-กฎหมายธุรกิจ Telephone (02) 555-0700 Press 1 or (02) 556-0600 Fax (02) 556-1611 Copyright © 2013 Dharmniti Seminar and Training Co., Ltd. | All Rights Reserved. |
|