สรุปเนื้อหา เก็งข้อสอบ เจาะลึกแนวข้อสอบ การบัญชีเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มี ส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs) สำหรับ TAX AUDITOR ติวเข้มประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับ TAX AUDITOR พร้อมเนื้อหา ภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากรสำหรับ TAX AUDITOR และการสอบบัญชีสำหรับ TAX AUDITOR
วิทยากร อาจารย์สุรพล ถวัลยวิชชจิต อาจารย์ธงชัย ยางงาม รศ.เพิ่มบุญ แก้วเขียว และอาจารย์เทวัญ วิจิตรปรีดา
หัวข้อสัมมนา
1. การบัญชีเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มี ส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs) สำหรับ TAX AUDITOR (กรุณานำเครื่องคิดเลขมาในวันสัมมนา) • พระราชบัญญัติการบัญชี2543 • การบัญชีสำหรับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน • มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับ NPAEs • แม่บทการบัญชี • การบันทึกบัญชี • การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน • การรับรู้รายได้ ค่าใช้จ่าย • การบัญชีต้นทุนผลิตสินค้า • การจัดทำงบการเงินตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า • มาตรฐานการบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์หนี้สิน และส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วน
2. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับ TAX AUDITOR • ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • ประกาศและคำสั่งของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน • การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • ความเกี่ยวพันและความรับผิดของผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยกัน และผู้เป็นหุ้นส่วนบุคคลภายนอก • เงื่อนไขในการฟ้องคดีผู้เป็นหุ้นส่วน • การควบห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนเข้าด้วยกัน • การเลิกห้างหุ้นส่วน การชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วน
3. ภาษีอากร ตามประมวลรัษฎากรสำหรับ TAX AUDITOR • การคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน o รายได้-รายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ o ปัญหารายจ่ายต้องห้าม • หลักเกณฑ์สำคัญของภาษีมูลค่าเพิ่ม • หลักเกณฑ์การหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย • ภาษีธุรกิจเฉพาะ / อากรแสตมป์ • หน้าที่เกี่ยวกับการยTนแบบแสดงรายการ/การนำส่งภาษี • การจัดทำรายงานและบัญชีพิเศษตามประมวลรัษฎากร • ประกาศเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี ตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร • Update กฎหมายภาษีอากรที่ผู้สอบ TA ต้องทราบ
4. การสอบบัญชีสำหรับ TAX AUDITOR • การสอบบัญชีตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่สภาวิชาชีพฯ ประกาศใช้ในปัจจุบัน และตามหลักเกณฑ์การปฏิบัติงาน • หลักฐานการสอบบัญชีและวิธีการรวบรวมหลักฐาน • การรายงานตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร • การประเมินความเสี่ยง • เทคนิคต่างๆ ที่ใช้ในการตรวจสอบบัญชี • หลักพื้นฐานของการควบคุมภายใน • แนวการตรวจสอบ การสอบทาน การควบคุมงานสอบบัญชี • การจัดทำกระดาษทำการ • จรรยาบรรณของผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี
|