ปัญหาภาษีสำหรับการจ่ายเงินไปต่างประเทศที่ต้องยื่น ภ.ง.ด. 54 และ ภ.พ. 36 (ฝึกปฏิบัติ) (29 เม.ย. 60)

โดย

ปัญหาภาษีสำหรับการจ่ายเงินไปต่างประเทศที่ต้องยื่น ภ.ง.ด. 54 และ ภ.พ. 36 (ฝึกปฏิบัติ)

 

  • หลักสูตรนี้เป็นการ Workshop จาก Case Studies เพื่อช่วยให้ผู้เข้าสัมมนามีความเข้าใจในเรื่องของการจ่ายเงินไปต่างประเทศว่ามีภาษีอะไรบ้างที่เกี่ยวข้อง และสามารถนำไปปรับใช้ในงานของผู้เข้าอบรมได้จริง


   หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline   
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี สอบบัญชี กฎหมาย อื่นๆ
0 11 0 0 0 11

 

1.   สิ่งที่ต้องระวังในการกรอกแบบ ภ.ง.ด.54

     - การกรอกแบบยังใช้เลขประจำตัวผู้เสียภาษี 10 หลักได้ หรือไม่

     - การทำเครื่องหมายเลือกประเภทเงินได้ถ้าเลือกผิดประเภทจะมีความผิดหรือไม่

     - ถ้าเลือกประเภทเงินได้ผิดจะถือว่ายังไม่ได้ยื่นหรือไม่ 

     - การยื่นแบบจะยื่นรวมกันหลายๆ บริษัทได้หรือไม่

     - กรณีผู้รับรายเดียวกันแต่มีการจ่ายหลายครั้งต้องยื่นแบบอย่างไร

     - จ่ายเงินให้บริษัทเดียวแต่มีการจ่ายหลากหลายประเภทเงินได้จะยื่นแบบฉบับเดียวกันได้หรือไม่

     - การกรอกแบบกรณีออกภาษีแทนให้ ฐานที่จะกรอกจะคำนวณอย่างไร

     - การออกภาษีแทนผู้รับเงิน ฐานรายได้ที่ใช้ยื่นในแบบ ภ.ง.ด.54 กับ ภ.พ.36 เท่ากันหรือไม่

     - กรณีไม่ทราบที่อยู่ของผู้รับเงินจะต้องทำอย่างไร

     - ถ้าบริษัทจ่ายเงินได้ที่ต้องหักภาษีมีหลายอัตรา จะกรอกในแบบฉบับเดียวกันได้หรือไม่

     - เลขที่เอกสารแลกเปลี่ยนเงินตราคืออะไร ถ้าไม่มีจะยื่นแบบได้หรือไม่

     - การยื่นแบบต้องให้สำนักงานใหญ่เป็นผู้ยื่นหรือสาขายื่นเองได้

2.   ข้อควรระวังในการยื่นแบบ ภ.พ.36 เพื่อนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม

     - กรณีซื้อสินค้าจากต่างประเทศต้องยื่นแบบ ภ.พ.36 อย่างไร

     - ในรายการที่เป็นชื่อผู้โอนสินค้าหรือโอนสิทธิในบริการถ้าไม่มีเลขประจำตัวผู้ เสียภาษีต้องทำอย่างไร

3.   การยื่นแบบทางอินเตอร์เน็ต กับการไปยื่นเองแบบไหนดีกว่ากัน

4.   กำหนดเวลาในการยื่นแบบ

      - กรณียื่นแบบเกินกำหนดเวลาจะมีเบี้ยปรับ-เงินเพิ่มหรือไม่

     - การยื่นเกินกำหนดเวลาจะเป็นจุดที่ทำให้สรรพากร ตรวจสอบหรือไม่

     - ถ้าบริษัทมีทั้งยื่นขาดและยื่นเกินจะหักกลบกันได้หรือไม่

     - วิธีการยื่นเพิ่มเติมจะยื่นเฉพาะส่วนที่ยื่นขาดไปหรือต้องกรอกแบบใหม่ทั้งฉบับ

5.   ภ.ง.ด.53, ภ.ง.ด.54, ภ.พ.30, ภ.พ.36 มีความสัมพันธ์กันอย่างไรและเมื่อใดที่ต้องยื่นแบบ

      - สรรพากรจะกระทบยอดจากแบบเพื่อประเมินภาษีหรือไม่

6.   คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

 

 

กำหนดการอบรม อัตราค่าสัมมนา

วันเสาร์ที่ 29 เมษายน และวันอาทิตย์ที่ 30 เมษายน 2560

เวลา 09.00 - 16.00 น.

ณ โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน

ถ.รัชดาภิเษก สี่แยกพระราม9 รถไฟฟ้าใต้ดิน สถานีพระราม9

สมาชิกวารสารธรรมนิติ (Tax/HR) : 9,000+ VAT 630 = 9,630 บาท

บุคคลทั่วไป : 10,000 + VAT 700 = 10,700 บาท

(รวมเอกสาร ชา กาแฟ อาหารกลางวัน)

 

 

จองอบรมหลักสูตรนี้ >>

 

 

FaLang translation system by Faboba