หลักสูตร
“เจาะประเด็นเอกสารรับ-จ่าย Update กฎหมายใหม่ล่าสุด”
หัวข้อสัมมนา
1. Update กฎหมายใหม่ของกรมสรรพากรที่กระทบต่อระบบเอกสารทางบัญชี
2. การจัดเก็บเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามหลักเกณฑ์ของกรมสรรพากร
3. เอกสารรายจ่ายที่ต้องใช้ในการบันทึกบัญชีกับเอกสารรายจ่ายทางภาษีเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร
4. ค่ารับรอง ต้องใช้เอกสารใดในการนำมาลงเป็นรายจ่าย
5. เอกสารในการทำโปรโมชั่น ส่งเสริมการขาย
6. การตรวจสอบการรับใบกำกับภาษี
7. กรณีที่ต้องออกใบกำกับ และกรณีที่ไม่ต้องออก
8. เอกสารที่สามารถใช้ขอคืนภาษีซื้อได้ พร้อมหลักเกณฑ์การขอคืนภาษีซื้อ
9. กรณีเอกสารรายจ่ายสูญหาย เสียหาย ชำรุด จะแก้ไขอย่างไร
10. การจัดเก็บ การทำลาย เอกสารรับ-จ่ายต้องดำเนินการอย่างไร
11. เอกสารที่ใช้ประกอบการหักภาษี ณ ที่จ่าย ที่นักบัญชีต้องใช้ประกอบการจ่าย
12. สาขาจ่ายค่าใช้จ่าย แต่หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายออกในนามสำนักงานใช้ได้หรือไม่
13. ออกหนังสือรับรองการหัก ณ ที่จ่ายโดยระบุเงินได้คนละประเภทกับข้อเท็จจริง
14. มีเอกสารรายจ่าย แต่สรรพากรไม่ยอมให้นำมาลงเป็นรายจ่ายต้องดำเนินการอย่างไร
15. ข้อควรระวัง 5 ประการกับ “บิลเงินสด”
16. หลักเกณฑ์การจัดทำ “ใบรับเงิน” มีเงื่อนไขและทำอย่างไรให้สรรพากรยอมให้นำมาลงรายจ่ายได้
17. เอกสารรายจ่ายเกี่ยวกับการบริจาคที่นำมาลงเป็นรายจ่ายได้ทั้ง 1 เท่า และ 2 เท่า
18. ค่าใช้จ่ายของกิจการที่ลูกจ้างจ่ายไปนำมาลงเป็นรายจ่ายได้หรือไม่
- กรณีซื้อตามใบเสร็จรับเงินเป็นของลูกจ้าง
- ชื่อ ที่อยู่ตามใบเสร็จรับเงินเป็นของบริษัท แต่จ่ายโดยใช้บัตรเครดิตของพนักงาน
19. กรณีผู้ขาย ผู้ให้บริการไม่ยอมออกใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษีให้ต้องปฏิบัติอย่างไร
20. ค่าพาหนะในการเดินทางไปทำงานของพนักงาน ลงเป็นรายจ่ายบริษัทได้อย่างไร
21. รายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการพนักงาน มีเงื่อนไขอย่างไรจึงจะนำมาลงเป็นรายจ่ายได้
22. ปัญหาด้านเอกสารเมื่อต้องจ่ายเงินให้กับบุคคลธรรมดา
23. เอกสารที่ใช้ในการบันทึกสต๊อกสินค้า ทั้งรับเข้าและจ่ายออก
24. รายได้ที่ไม่ได้รับชำระเงิน ต้องออกใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษีหรือไม่
25. คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี