กฎหมายแรงงานสำหรับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (เริ่ม 18 ต.ค. 60)
โดย
กฎหมายแรงงานสำหรับการบริหารทรัพยากรมนุษย์
|
≡ หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
|
|
Update...กฎหมายแรงงานที่มีการเปลี่ยนแปลงในปี 2560 • กฎหมายคุ้มครองแรงงาน • กฎหมายประกันสังคม
วิทยากรโดย อาจารย์รำไพ โกมารทัต และวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ
วันพุธที่ 18 ตุลาคม 2560
1. พ.ร.บ.ประกันสังคม ที่ผู้บริหารและฝ่าย HR ต้องรู้เพื่อใช้ให้ถูกต้องตามกฎหมาย
2. การเพิ่มสิทธิประโยชน์และขยายความคุ้มครองผู้ประกันตน ตาม พ.ร.บ.ฉบับใหม่ • กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย มีการเพิ่มสิทธิใดบ้าง และค่าใช้จ่ายเป็นเงินช่วยเหลือเบื้องต้นมีสิทธิได้รับหรือไม่อย่างไร • กรณีผู้ประกันเจ็บป่วยเรื้อรัง มีเพิ่มสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีตายอย่างไรบ้าง • กรณีคลอดบุตร ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับเงินค่าคลอดบุตรโดยไม่จำกัดครั้ง และยังได้รับเงินค่าคลอดบุตรเหมาจ่ายยังเท่าเดิมหรือไม่ • กรณีทุพพลภาพ มีการเพิ่มสิทธิให้ผู้ประกันตนที่สูญเสียสมรรถภาพของร่างกายอย่างไรบ้าง • กรณีตาย เงินสงเคราะห์ที่ผู้ประกันตนถึงแก่ความตาย ได้รับเพิ่มมีอย่างไรเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมบ้าง • การใช้สิทธิประโยชน์ตามกองทุน ประกันสังคม 7 กรณีสำหรับผู้ประกันตน - กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย - กรณีคลอดบุตร - กรณีสงเคราะห์บุตร - กรณีทุพพลภาพ - กรณีตาย - กรณีชราภาพ - กรณีว่างงาน ยกเว้นผู้ประกันตน ตามมาตรา 39 • หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.ประกันสังคม • ขอบเขตและการบังคับใช้ของกฎหมายประกันสังคม • บทบาทหน้าที่ของนายจ้าง และลูกจ้าง ในการส่งเงินสมทบประกันสังคม • อัตราและวิธีการเรียกเก็บเงินสมทบของนายจ้างและลูกจ้างจะต้องปฏิบัติอย่างไร • สิทธิประโยชน์ภายหลัง การสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง สิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตน ตามมาตรา 33 • กรณีลูกจ้างได้รับสิทธิหยุดงานเนื่องจากตั้งครรภ์เป็นเวลานาน เมื่อกลับเข้าทำงานจะได้รับค่าจ้างและการนับระยะเวลาทำงานต่อเนื่องหรือไม่ • หน้าที่ของโรงพยาบาลตามสิทธิในการให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้ประกันตน
วันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม 2560
3. หลักเกณฑ์และรายละเอียดสำคัญของการทำสัญญาจ้างแรงงาน
4. กรณีสัญญาจ้างแรงงาน/จ้างทำของ/จ้างเหมาช่วงงาน • ความหมายของสัญญาจ้างแรงงาน • ความหมายของสัญญาจ้างทำของ • ข้อเหมือนกันของสัญญาจ้างแรงงานและสัญญาจ้างทำของ • คำพิพากษาฎีกาที่วินิจฉัยว่าเป็นสัญญาจ้างแรงงาน • คู่สัญญาตามสัญญาจ้างแรงงานมี 2 ฝ่ายมีอะไรบ้าง • คำพิพากษาฎีกา ที่ 22326-22404/2555 การจ้าง Outsource กรณีเหมาค่าแรงมาตรา 11/1 • ความรับผิดของนายจ้างผู้ประกอบกิจการด้วยวิธีการเหมาค่าแรง ตามมาตรา 11/1 วรรคสอง • สัญญาจ้างเหมาช่วงงาน ตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน มาตรา 12 • ลักษณะของสัญญาจ้างแรงงาน หรือการสิ้นสุดสัญญาจ้างแรงงานและผลที่ตามมาเป็นอย่างไรบ้าง
5. กรณีควบรวมกิจการ/การโอนกิจการนายจ้างใหม่ • การควบรวมกิจการ ลูกจ้างของกิจการที่ควบรวม กลายเป็นลูกจ้างกิจการที่ควบรวมโดยอัตโนมัติกิจการใหม่ ต้องรับสิทธิและหน้าที่ของกิจการที่ควบรวมที่มีต่อลูกจ้างด้วยหรือไม่อย่างไร • การโอนโดยกิจการของนายจ้างไม่มีการเปลี่ยนแปลง ลูกจ้างต้องปฏิบัติตามสภาพการจ้างของนายจ้างใหม่ด้วยหรือไม่ • กรณีลูกจ้างยอมทำงานให้ผู้รับโอนกิจการ ถือว่าผู้รับโอนกิจการเป็นนายจ้างหรือไม่
วันศุกร์ที่ 20 ตุลาคม 2560
6. สาระสำคัญของกฎหมายแรงงานที่นายจ้าง ลูกจ้าง และฝ่ายบุคคลต้องรู้ • สิทธิหน้าที่ของนายจ้าง ตามกฎหมายแรงงาน กฎหมายคุ้มครองแรงงาน - กรณีนายจ้างเป็นนิติบุคคล - กรณีเป็นผู้ประกอบการใหม่ • การประกันการทำงาน (Guarantee of employment) ที่ถูกต้องตามกฎหมายใหม่ • กฎหมายคุ้มครองแรงงานหญิง (Female Labour) • ประเด็นเกี่ยวกับการทดลองงาน (Probation) ที่นายจ้างต้องทราบ - ระยะปลอดภัยในการทดลองงาน - กรณีทดลองงานไม่ผ่านต้องปฏิบัติอย่างไร • การกำหนด วัน เวลา ทำงาน (Working Times) มีหลักเกณฑ์ที่ถูกต้องตามกฎหมายอย่างไร • จุดบอดที่มักเข้าใจผิด เกี่ยวกับ วันหยุด (Holiday) วันลา (Leave for absence) • ปัญหาที่เกิดขึ้น...จากความไม่รู้ ไม่เข้าใจ ความเคยชิน เกี่ยวกับ ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุดทำให้เกิดการฟ้องร้องคดีแรงงาน การจ่ายค่าจ้าง ค่าตอบแทน ค่าจ้างขั้นต่ำกรณีต่างๆ (กรณีเป็นลูกจ้างรายวัน ลูกจ้างทดลองงาน)
|
|
|
กำหนดการอบรม |
วันพุธที่ 18 ตุลาคม 2560 วันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม 2560 วันศุกร์ที่ 20 ตุลาคม 2560 เวลา 09.00-16.00 น.
โรงแรมสวิส โฮเต็ล เลอ คองคอร์ด
|
|
อัตราค่าสัมมนา |
สมาชิกวารสารธรรมนิติ (Tax/HR) 10,165 บาท ( รวม vat )
บุคคลทั่วไป 11,770 บาท ( รวม vat )
|
|
|
|
|
|
ภาษีอากร | การบัญชี-การเงิน | หลักสูตรราคาพิเศษ | ทรัพยากรมนุษย์-กฎหมายแรงงาน | บริหารจัดการ-กฎหมายธุรกิจ Telephone (02) 555-0700 Press 1 or (02) 556-0600 Fax (02) 556-1611 Copyright © 2013 Dharmniti Seminar and Training Co., Ltd. | All Rights Reserved. |
|