Pre-IPO โครงการอบรมเตรียมบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์

รหัสหลักสูตร : 21/5194

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 26,750 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 28,890 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


Pre-IPO โครงการอบรมเตรียมบริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี บัญชี 6 อื่นๆ 30 ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี 6 อื่นๆ 30 ชม.

 

หัวข้อสัมมนา

SECTION 1 : IPO step by step หลักเกณฑ์และกระบวนการนำกิจการจดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์
วิทยากรโดย อาจารย์สุรพล ถวัลยวิชชจิต

1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์ และวงจรที่เกี่ยวข้อง
2.เหตุใดกิจการที่มีความพร้อมจำนวนหนึ่งจึงมุ่งเป้านำบริษัทจดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์ และอีกจำนวนหนึ่งปฏิเสธเด็ดขาด
3.คุณสมบัติของกิจการที่จะสามารถเข้า IPO
4.การวิเคราะห์กิจการและประเมินความพร้อมเบื้องต้น
5.หลักและแนวทางการวิเคราะห์โอกาสและความเสี่ยงจากการนำกิจการเข้าจดทะเบียนฯ
6.ขั้นตอนและกระบวนการหลักในการเข้าจดทะเบียนฯ
6.1 Vision ยุทธ์ศาสตร์กิจการ และสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ
6.2 การตรวจสอบสภาพธุรกิจ
6.3 การปรับปรุงระบบบัญชีและรายงานทางการเงิน
6.4 การปรับระบบควบคุมภายใน
6.5 การแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน
6.6 การยื่นขออนุญาตกระจายหุ้นต่อประชาชน
6.7 การกระจายหุ้น
6.8 การเข้าจดทะเบียน (MAI/SET)
7.ผู้เกี่ยวข้องหลักในการเข้าจดทะเบียนและลำดับก่อนหลังของความเกี่ยวข้อง
7.1 ที่ปรึกษาทาการเงิน (Financial Advisor/FA)
7.2 ผู้สอบบัญชี (Auditor)
7.3 ผู้ตรวจสอบภายใน (Internal Audit/IA)
7.4 ที่ปรึกษากฎหมาย
7.5 ตลาดหลักทรัพย์ฯ
7.6 คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
7.7 บริษัทหลักทรัพย์ที่รับเป็นผู้จัดจำหน่ายหลักทรัพย์ (Underwriters)
8.การประมาณการด้านงบประมาณค่าใช้จ่าย
9.การวิเคราะห์เจาะลึก การนำกิจการจดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์กับการดำรงสถานะความเป็นเจ้าของกิจการของเจ้าของเดิม
10.เงื่อนไขด้านกรอบระยะเวลาต่างๆที่สำคัญ
11.กฎหมายและข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
12.ประเด็นปัญหาและอุปสรรค์ที่กิจการมักพบเจอเมื่อเตรียมการเข้าจดทะเบียนฯ
13.การเตรียมข้อมูลเพื่อการจัดทำรายงานและตอบข้อซักถามจากผู้เกี่ยวข้อง
14.กรณีศึกษาที่ไม่ควรพลาด Success Story
15.คุณธรรม จริยธรรม และจรรณยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

SECTION 2 : “กฎหมายสำหรับบริษัทที่เตรียมตัวเข้าตลาดหลักทรัพย์ Corporate Law: IPO (Initial Public Offering) & Go Listing”
วิทยากรโดยอาจารย์ชินภัทร วิสุทธิแพทย์

1.กฎหมายที่สำคัญสำหรับการเตรียมตัวเข้าตลาดหลักทรัพย์
1.1 กฎหมายบริษัทจำกัด
- การแปรสภาพห้างหุ้นส่วนจำกัดเป็นบริษัทจำกัด
- เอกสารสำคัญด้านกฎหมายบริษัทและหุ้นบริษัท
1.2 กฎหมายบริษัทมหาชนจำกัด
- การแปรสภาพบริษัทจำกัดเป็นบริษัทมหาชนจำกัด
- ความแตกต่างของ บริษัทมหาชน / บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
2.รูปแบบการรับหลักทรัพย์
2.1 IPO (Initial Public Offering) - เสนอขายหุ้นใหม่ ในตลาดหลักทรัพย์ครั้งแรก
2.2 การนำ “บริษัทโฮลดิ้ง” (IPO Holding Co) เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
2.3 REIT (Real Estate Investment Trust) – เสนอขาย “หน่วยรีท” เพื่อ “กองทรัสต์เพื่อลงทุนในอสังหาริมทรัพย์”
3.การปรับโครงสร้างบริษัทก่อน IPO
3.1 การปรับโครงสร้างกิจการ
3.2 การปรับโครงสร้างการถือหุ้น
3.3 การปรับโครงสร้างองค์กร
3.4 การปรับโครงสร้างทางการเงิน
3.5 การปรับโครงสร้างการถือครองทรัพย์สิน
3.6 การปรับโครงสร้างการจ้างงานและบุคคล
4.การใช้ Family Holding Company ก่อน IPO
4.1 ข้อดีทางภาษีของ Family Holding Company ก่อนเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ
4.2 ข้อควรระวังของการใช้ Family Holding Company หลังเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ
4.3 ข้อควรระวัง การใช้ Offshore Holding Company เข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ

SECTION 3 : “มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับบริษัทที่เตรียมตัวจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์”
วิทยากรโดย ดร.วรกร แช่มเมืองปัก

1. Update ทิศทางมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่เตรียมตัวจดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์
2. มาตรฐานการรายงานทางการเงินด้าน “สินทรัพย์”
- มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน
- มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 เรื่อง สินค้าคงเหลือ
- มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
- มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 38 เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
- มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 เรื่อง อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
- มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 36 เรื่อง การด้อยค่าของสินทรัพย์
3. มาตรฐานการรายงานทางการเงินด้าน “หนี้สิน”
- มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 37 เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น
- มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อง ผลประโยชน์ของพนักงาน
- มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า
4. มาตรฐานการรายงานทางการเงินด้าน “ส่วนของเจ้าของ”
- มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 เรื่อง การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์
- การขายหุ้น แบบ PP
- กรณีขายหุ้นให้พนักงานต่ำกว่าราคา IPO (Initial Public Offering) ก่อนเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
- กรณีออก Stock Option ให้พนักงานหลังเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แล้ว
5. มาตรฐานการรายงานทางการเงินด้าน “รายได้”
- มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 เรื่อง รายได้สัญญาที่ทำกับลูกค้า
6. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

SECTION 4 : “การพัฒนาระบบการทำงานและระบบพัฒนาธุรกิจก่อนเข้าตลาดหลักทรัพย์”
วิทยากรโดยคุณปรีญาพัชร์ อติเรก และ ดร.เพิ่มทรัพย์ เวชสุกรรม

1.ความสำคัญและประโยชน์ของการพัฒนาระบบการทำงานและระบบพัฒนาธุรกิจ
2.คู่มือปฏิบัติงานกับความสำคัญของระบบควบคุมภายในก่อนเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
3.พิจารณาอย่างไรว่าคู่มือปฏิบัติงานขององค์กรมีระบบควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
4.ระบบงานที่ต้องพัฒนาระบบควบคุมภายใน (ระบบรายได้, ระบบจัดซื้อจัดจ้าง, ระบบคลังสินค้า, ระบบรับจ่ายเงิน, ระบบงานทรัพยากรบุคคล, ระบบงานดูแลทรัพย์สิน, ระบบด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ)
5.ลักษณะของคู่มือปฏิบัติงานที่ดี
6.ความแตกต่างระหว่างคู่มือการปฏิบัติงานทั่วไปและคู่มือที่มีระบบการควบคุมภายใน
7.การออกแบบคู่มือการปฏิบัติงานให้มีมาตรฐานตามระบบควบคุมภายในและป้องกันการทุจริต
7.1การแบ่งหน้าที่ของหน่วยงาน (Job Function)
7.2 อำนาจในการบริหาร (Table of Authorized)
7.3เอกสารในการดำเนินงาน และ ทางเดินเอกสาร (Document Flow)
7.4วิธีการปฏิบัติงาน (Procedure)
7.5ความเชื่อมต่อการทำงานของแต่ละหน่วยงาน (Connection Link)
8.รายการงานพัฒนาธุรกิจที่ต้องจัดทำก่อนเข้าตลาดหลักทรัพย์
9.วิธีการจัดทำงานพัฒนาธุรกิจให้มีมาตรฐานตามระบบควบคุมภายใน
9.1 รายงานความเสี่ยงองค์กร (Risk Management Report)
9.2 แผนสืบทอดตำแหน่งงาน (Succession Plan)
9.3 แผนธุรกิจ (Business Plan)
9.4 แผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Plan)
9.5 การปรับโครงสร้างองค์กร (Organization Structure)
9.6 การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicator)
9.7 ใบบรรยายลักษณะงาน (Job Description)
9.8 ตารางอำนาจอนุมัติ (Table of Authorized)
9.9 รายงานความยั่งยืน (Sustainability Report)
10.การนำระบบการพัฒนาระบบการทำงานและระบบพัฒนาธุรกิจไปใช้ให้ประสบผลสำเร็จ

SECTION 5 : “บทบาทและหน้าที่ของเลขานุการบริษัทจดทะเบียน (Company Secretary: CS)”
วิทยากรโดยคุณลภัสรดา เลิศภานุโรจ

1. การแต่งตั้งเลขานุการบริษัท และคุณสมบัติของเลขานุการบริษัท
2. แนวปฏิบัติหน้าที่ของเลขานุการบริษัทตาม “ICSA Guidance on the Corporate Governance Role of the Company Secretary”
3. กฎระเบียบของสำนักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่เลขานุการบริษัทจดทะเบียนต้องทราบ
4. บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท
4.1 บทบาทในฐานะผู้ที่มีส่วนสําคัญในการผลักดันแนวปฏิบัติทางด้านการกํากับดูแลกิจการที่ดี (Corporate Governance)
4.2 บทบาทในฐานะ Investor Relations : IR
4.3 บทบาทของเลขานุการบริษัทกับกรรมการ และผู้ถือหุ้น
5. การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อยบริษัท และการประชุมผู้ถือหุ้น
6. การประสานงานให้มีการปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัท มติคณะกรรมการบริษัท/ผู้ถือหุ้น ข้อกำหนดทางด้านกฎหมายและกฎระเบียบอื่นที่เกี่ยวข้อง มีเทคนิคขั้นตอนอย่างไร
7. การจัดทำและเก็บรักษาเอกสารต่างๆ ของบริษัท
7.1 ทะเบียนกรรมการ
7.2 หนังสือนัดประชุม
7.3 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัท และผู้ถือหุ้น
7.4 รายงานประจำปีของบริษัท
7.5 รายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหารของบริษัท
8. บทกำหนดโทษเลขานุการบริษัท หากไม่ปฏิบัติตามหน้าที่
9. ความรับผิดทางของกรรมการและผู้แทนนิติบุคคล ที่เลขานุการบริษัทต้องทราบ เพื่อการแนะนำการปฏิบัติให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย

SECTION 6 : “ระบบสารสนเทศกับการเตรียมตัวเข้าตลาดหลักทรัพย์”
วิทยากรโดย อาจารย์สุรพล ถวัลยวิชชจิต

1.ระบบสารสนเทศขององค์กรกับการเตรียมความพร้อมเข้าตลาดหลักทรัพย์
2.แนวทางการนำระบบสารสนเทศมาใช้สำหรับการเตรียม IPO
3.ข้อกำหนดขั้นต่ำที่ฝ่ายสารสนเทศต้องจัดทำหรือจัดให้มี
3.1 การแบ่งแยกหน้าที่
3.2 การอนุมัติรายการตามอำนาจอนุมัติ
4.การควบคุมภายในที่สำคัญสำหรับระบบสารสนเทศ
4.1 การควบคุมโดยรวมของฝ่ายสารสนเทศ
- การกำหนดหน้าที่หลักของฝ่ายสารสนเทศ
- มาตรฐานการควบคุมที่สำคัญ
4.2 การควบคุมภายในสำหรับระบบสารสนเทศทางบัญชี
- การกำหนดแนวทางการคัดเลือกระบบสารสนเทศทางบัญชี
- การกำหนดรายละเอียดที่สำคัญสำหรับการใช้งานสารสนเทศทางบัญชี
4.3 การควบคุมภายในสำหรับระบบโปรแกรมประยุกต์
- แนวคิดการออกแบบระบบงานการพัฒนาโปรแกรมขึ้นใช้เอง
- แนวคิดการควบคุมสำหรับการพัฒนาโปรแกรม
5.มาตรการป้องกันความเสี่ยงของระบบสารสนเทศในด้านต่างๆที่ IPO ควรทราบ
5.1 การป้องกันที่สำคัญตามกฎหมาย PDPA
5.2 การป้องกันที่สำคัญตามกฎหมาย พรบ.คอมพิวเตอร์
5.3 การป้องกันที่สำคัญตามกฎหมายลิขสิทธิ์
6.ข้อกำหนดที่สำคัญสำหรับแนวทาง BCP (Business Continuity Plan)



 
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
6:0 30:0 6:0 30:0

วิทยากร

อ.สุรพล ถวัลยวิชชจิต
อ.ชินภัทร วิสุทธิแพทย์
คุณปรีญาพัชร์ อติเรก
ดร.เพิ่มทรัพย์ เวชสุกรรม
คุณลภัสรดา เลิศภานุโรจ
ดร.ธนาดล รักษาพล

สถานที่

โรงแรมแลนด์มาร์ค กรุงเทพ
138 Sukhumvit Soi 4, Sukhumvit Road, Bangkok 10110
โทรศัพท์ :
02 254 0404
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีนานา ทางออกที่ 2


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba