การวิเคราะห์ความเสี่ยงภาษีอากร จากงบการเงิน (What are tax exposures in the audited financial statements)(จัดอบรมออนไลน์ผ่าน Zoom)

รหัสหลักสูตร : 21/8035/2Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 3,745 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,280 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

 


การวิเคราะห์ความเสี่ยงภาษีอากร จากงบการเงิน

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี นับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้
ผู้สอบบัญชี นับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้

 

วิทยากรโดย อาจารย์ชินภัทร วิสุทธิแพทย์

หัวข้อสัมมนา

1. งบแสดงฐานะการเงิน: วิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่าง “งบแสดงฐานะการเงิน” เพื่อค้นหาความเสี่ยง “ภาษีเงินได้นิติบุคคล” และ “ภาษีมูลค่าเพิ่ม" รวมถึง “ภาษีอื่น” ที่เกี่ยวข้อง

1.1 ทรัพย์สิน

- ต้นทุนเพื่อการได้มาซึ่งสินทรัพย์ (CAPEX: Capital Expenditure)

- ค่าเสื่อมราคา ค่าสึกหรอ

- ลูกหนี้การค้า

- ภาษีรอขอคืน (Tax Refundable)

1.2 หนี้สิน

- หนี้สินสถาบันการเงิน

- หนี้สินบุคคลเกี่ยวโยงกัน(Related Parties Liabilities)

- เงินได้รับล่วงหน้า

- เจ้าหนี้การค้า

1.3 ส่วนของผู้ถือหุ้น

- ทุนชำระแล้ว

- ส่วนล้ำมูลค่าหุ้น (Share Premium)

- เงินสำรองตามกฎหมาย (Legal Reserve)

- กำไรสะสม

2. งบกำไรขาดทุน: วิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่าง “งบกำไรขาดทุน”​ เพื่อค้นหาความเสี่ยง “ภาษีเงินได้นิติบุคคล”​ และ “ภาษีมูลค่าเพิ่ม" รวมถึง “ภาษีอื่น” ที่เกี่ยวข้อง

2.1 รายได้

- รายได้หลัก / รายได้อื่น

- รายได้ที่ยกเว้นภาษี

2.2 รายจ่าย

- รายจ่ายในกิจการ (OPEX: Operating Expense)

- รายจ่ายต้องห้าม (Non-Deductible Expense)

- รายจ่ายที่หักทางภาษีได้เพิ่ม

2.3 กำไร

- กำไรสุทธิทางบัญชี

- กำไรสุทธิทางภาษี

2.4 ขาดทุน

- ขาดทุนทางบัญชี (Accounting Loss)

- ขาดทุนทางภาษี (Tax Loss)

- ขาดทุนจัดตั้ง (Strategic Loss)

- ขาดทุนดำเนินงาน (Operating Loss)


3. “กรณีศึกษา” Case Study จาก “งบการเงิน” ของ “บริษัทจดทะเบียน” ใน “ตลาดหลักทรัพย์”​ หลากหลายรูปแบบธุรกิจ เช่น Manufacturing / Trading / Service / Real Estate / Banking & Finance / Investment Holding รวมถึง “คำพิพากษาศาล” และ “แนวทางปฏิบัติทางภาษีของหน่วยงานจัดเก็บภาษี”

เงื่อนไข


1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User
2. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที
3. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน
4. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand)หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ใน
ระหว่างอบรม
5. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายใน 1 วันหลังเสร็จสิ้นการอบรม
*** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) ***

เงื่อนไขการเข้าอบรมผู้ทําบัญชีสามารถนับชั่วโมง CPD ได้ ผู้สอบบัญชีนับชั่วโมง
ไม่เป็นทางการ

ผู้ทำบัญชี
1.ผู้ทําบัญชีสามารถใช้อัตราชั่วโมงการอบรมออนไลน์ตามจริงจํานวน 1.5 ชม.
แทนการนับชั่วโมง CPD ได้จํานวน 1 ชม.
2.ผู้เข้าสัมมนาต้องเปิดกล้องตลอดระยะเวลาการอบรม และไม่ควรกดออกจากโปรแกรม

ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
1.ผู้สอบบัญชีสามารถนับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้ ตามจำนวนชั่วโมงที่เข้าอบรมจริง
2.ผู้เข้าสัมมนาต้องเปิดกล้องตลอดระยะเวลาการอบรม และไม่ควรกดออกจากโปรแกรม


นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
นับได้ 4 ชม. ตามการเข้าอบรมจริง (1.5 ชม. ทดแทน 1 ชม.) ไม่เป็นทางการ (นับชั่วโมงได้ตามจำนวน ชม. การเข้าอบรมจริง)

วิทยากร

อาจารย์ชินภัทร วิสุทธิแพทย์

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (ผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี นับชม.ได้ตามจำนวนการเข้าอบรมจริง 1.5 ชม. ทดแทน 1 ชม.)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba