กลยุทธ์การจัดการบัญชีต้นทุนและสินค้าคงเหลือ ให้ถูกต้องตามหลักบัญชีและหลักภาษีอากร (จัดอบรมออนไลน์ผ่าน Zoom)

รหัสหลักสูตร : 21/2254Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 2,675 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 3,210 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


กลยุทธ์การจัดการบัญชีต้นทุนและสินค้าคงเหลือ
ให้ถูกต้องตามหลักบัญชีและหลักภาษีอากร


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี

บัญชี 2 ชม.อื่น ๆ 2 ชม.

ผู้สอบบัญชี

นับชั่วโมงแบบ
ไม่เป็นทางการได้

 
• วิธีการคำนวณต้นทุนวัตถุดิบที่มีผลต่องบกำไรขาดทุน
• เทคนิคการเฉลี่ยต้นทุนการผลิตและการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
• วิธีการตรวจนับสินค้าและวัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ

วิทยากรโดย อาจารย์รุจิรัตน์ ปาลีพัฒน์สกุล

หัวข้อสัมมนา

1. หลักเกณฑ์การทำบัญชีต้นทุนในธุรกิจอุตสาหกรรม

2. การคำนวณต้นทุนการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและเหมาะสมกับธุรกิจ
* ตามลักษณะการผลิต
* ตามประเภทรายการ
- ต้นทุนปกติ
- ต้นทุนจริง
- ต้นทุนมาตรฐาน
- ต้นทุนกิจกรรม

3. วิธีการคำนวณต้นทุนวัตถุดิบที่มีผลต่องบกำไรขาดทุน

4. เทคนิคการเฉลี่ยต้นทุนการผลิตและการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
- การคิดหาวัตถุดิบเข้างาน (กรณีมีหลายผลิตภัณฑ์)
- ค่าแรงงานทางตรง/โสหุ้ยการผลิตเข้างาน
- การจัดทำบัตรสะสมต้นทุน
- การกำหนดราคาขาย
- การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน

5. มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 2 สินค้าคงเหลือ ผลกระทบกับการบันทึกบัญชีต้นทุน

6. หลักเกณฑ์ในการคำนวณราคาสินค้าคงเหลือ ที่มีผลกระทบต่อการบัญชีต้นทุน
“Net realizable value” ต่างกับ “ราคาตลาด” ของสรรพากรอย่างไร


7. เทคนิคการพิจารณาเลือกเกณฑ์ที่จะนำไปใช้ตีราคาสินค้าคงเหลือที่เหมาะสม
สำหรับสินค้าของแต่ละกิจการ


8. วิธีการตรวจนับสินค้าและวัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ

9. การตรวจนับสินค้าปีละหลาย ๆ ครั้ง (Internal Control) จะมีผลต่อ
CIT & VAT อย่างไร

10. เทคนิคการพิจารณาเลือกเกณฑ์ที่จะนำไปใช้ตีราคาสินค้าคงเหลือที่เหมาะสมสำหรับ
สินค้าของแต่ละกิจการ

11. วิธี FIFO, Weighted Average, Specification

12. ผลกระทบทางการบัญชีและภาษีอากร (TFRS & CIT) จากการขออนุมัติเปลี่ยน
เกณฑ์การคำนวณราคาสินค้าคงเหลือ


13. เทคนิคการบันทึกรายงานสินค้าและวัตถุดิบ


14. การออกแบบระบบการควบคุมสินค้าคงเหลือควรทำอย่างไร

- กระบวนการปฏิบัติการรับ-จ่าย
- การวางแผนการตรวจนับสินค้าคงเหลือ

15. กรณีหลักเกณฑ์ของ VAT ไม่ตรงกับวิธีบันทึกสต็อกตามหลักบัญชีและภาษีอากร
(CIT และ TFRS)


16. การบันทึกส่วนสูญเสียระหว่างการผลิตทางบัญชีและใช้เพื่อประกอบการชี้แจง
ต่อเจ้าหน้าที่สรรพากรต้องเตรียม Supporting Documents อย่างไรให้สรรพากรยอมรับ


17. อัตราของเสียที่เกินกว่ากำหนดต้องปฏิบัติทางมาตรฐานการบัญชีอย่างไร และใน
ทางภาษีต้องเสียภาษีหรือไม่


18. เทคนิคการปรับปรุง Stock Card กรณีสินค้าชำรุด สินค้าไม่ได้มาตรฐาน สินค้า
สูญหาย การทำลายสินค้า

19. ประเด็นที่มักผิดพลาดเกี่ยวกับการคำนวณต้นทุน และสินค้าคงเหลือพร้อมวิธีแก้ไข

20. การจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบตามหลักเกณฑ์ของสรรพากร
- การลงรายงานสินค้าและวัตถุดิบตามหลักเกณฑ์ของสรรพากร
- บริษัทนำสินค้าฝากไว้กับตัวแทนจำหน่ายต้องทำ Stock หรือไม่
- โปรแกรม Software ที่ใช้ในกิจการต้องทำ Stock หรือไม่
- สำนักงานใหญ่ขายสินค้าแต่ของอยู่ที่สาขา สำนักงานใหญ่ต้องทำ Stock หรือไม่
- ฝากสินค้าไว้กับผู้ขายเพราะเกรงว่าบริษัทจะถูกไฟไหม้ บริษัทต้องทำ Stock หรือไม่ ภายหลังปรากฏว่าบริษัทผู้ขายถูกไฟไหม้ทำให้สินค้าที่ฝากไว้เสียหายทั้งหมด บริษัทต้องปฏิบัติอย่างไร
- นำสินค้าไปใช้ในกิจการต้องบันทึกเป็นทรัพย์สินหรือไม่ และต้องนำส่ง VAT หรือไม่

21. การบันทึกและปรับปรุงรายการทางบัญชีให้ถูกต้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์
ของสรรพากร


22. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

เงื่อนไขการเข้าอบรม
1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User
2. ผู้เข้าสัมมนาต้องกรอกข้อมูล ผ่าน Google Forms
3. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ีระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที
4. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน
5. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand)หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ใน
ระหว่างอบรม
6. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายในวันถัดไปหลังเสร็จสิ้นการอบรม
*** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) ***

เงื่อนไขการเข้าอบรมผู้ทําบัญชีสามารถนับชั่วโมง CPD ได้ ผู้สอบบัญชีนับชั่วโมง
ไม่เป็นทางการ

ผู้ทำบัญชี
1.ผู้ทําบัญชีสามารถใช้อัตราชั่วโมงการอบรมตามจริงจํานวน 1.5 ชม.
แทนการนับชั่วโมง CPD ได้จํานวน 1 ชม.
2.ผู้เข้าสัมมนาต้องแนบรูปถ่ายหน้าตรงคู่กับบัตรประชาชน ใน Google forms
3.ผู้เข้าสัมมนาต้องเปิดกล้องตลอดระยะเวลาการอบรม และไม่ควรกดออกจากโปรแกรม
4.เจ้าหน้าที่จะ Capture หน้าจอผู้เข้าสัมมนาทุกคน
* หลักสูตร 3 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 2 ครั้ง ก่อนอบรมและสิ้นสุดการอบรม
* หลักสูตร 6 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 4 ครั้ง
ช่วงเช้า ก่อนการอบรม และจบการอบรมช่วงเช้า
ช่วงบ่าย ก่อนการอบรม และสิ้นสุดการอบรม
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
1.ผู้สอบบัญชีสามารถนับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้ ตามจำนวนชั่วโมงที่เข้าอบรมจริง
2.ผู้เข้าสัมมนาต้องเปิดกล้องตลอดระยะเวลาการอบรม และไม่ควรกดออกจากโปรแกรม
3.เจ้าหน้าที่จะ Capture หน้าจอผู้เข้าสัมมนาทุกคน
* หลักสูตร 3 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 2 ครั้ง ก่อนอบรมและสิ้นสุดการอบรม
* หลักสูตร 6 ชั่วโมง Capture หน้าจอ 4 ครั้ง
ช่วงเช้า ก่อนการอบรม และจบการอบรมช่วงเช้า
ช่วงบ่าย ก่อนการอบรม และสิ้นสุดการอบรม

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ ไม่เป็นทางการ (นับชั่วโมงได้ตามจำนวน ชม. การเข้าอบรมจริง)
2:0 2:0

วิทยากร

อาจารย์รุจิรัตน์ ปาลีพัฒน์สกุล

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (ผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชี นับชม.ได้ตามจำนวนการเข้าอบรมจริง 1.5 ชม. ทดแทน 1 ชม.)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba