ปัญหาทางบัญชีธุรกิจนำเข้า-ส่งออก ในยุคดิจิทัล

รหัสหลักสูตร : 21/2348

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,815 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,564 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

1. ความสำคัญเกี่ยวกับธุรกิจนำเข้า-ส่งออก และทิศทางการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล

- การจดทะเบียนธุรกิจ - การติดต่อสั่งซื้อสินค้า

- จัดเตรียมเอกสารเพื่อการนำเข้าสินค้า - เงื่อนไขการสั่งซื้อ

- การหาสินค้าที่ต้องการจากประเทศต่างๆ

- การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และการขอมีเลขและบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร

1.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจส่งออก และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล

- การจดทะเบียนธุรกิจ - เงื่อนไขการขาย

- การเตรียมสินค้า - ติดต่อขนส่ง

- จัดเตรียมเอกสารเพื่อการส่งออก - ติดต่อผ่านพิธีการศุลกากร

- การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และการขอมีเลขและบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร

2. การเตรียมความพร้อมการนำเข้า-ส่งออกในยุคดิจิทัล

3. เอกสารที่ใช้ในการนำเข้า-ส่งออกโดยทั่วไป

- ใบขนสินค้าขาเข้า - บัญชีราคาสินค้า (Invoice)

- บัญชีรายละเอียดบรรจุหีบห่อ (Packing list)

- ใบอนุญาตสำหรับสินค้าควบคุมการนำเข้า (Import License)

- ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (Certificates of Origin) กรณีขอลดอัตราอากร

- เอกสารอื่น ๆ เช่น แค็ดตาล็อก เอกสารแสดงส่วนผสม

- ใบตราส่งสินค้า (ทางเรือ : (B/L) Bill of Lading, ทางอากาศ : (AWB) Air Way Bill)

- ใบขนสินค้าขาออก - บัญชีราคาสินค้า (Invoice)

- ใบอนุญาต หรือหนังสือรับรอง - คำร้องต่าง ๆ (ถ้ามี)

- ใบแนบใบขนสินค้าขาออก (กรณีเป็นสินค้าที่จะขอคืนอากร)

- ใบขนสินค้ามุมน้ำเงิน (กรณีเป็นสินค้าที่ขอชดเชยอากรสินค้าส่งออก)

4. พิธีการศุลกากรนำเข้าสินค้าและส่งออกสินค้า

- พิธีการศุลกากรนำเข้าสินค้า - ทางบก

- พิธีการศุลกากรนำเข้าสินค้า - ทางเรือ

- พิธีการศุลกากรนำเข้าสินค้า - ทางอากาศ

5. การบันทึกรับรู้รายการทางบัญชี (รายได้/ค่าใช้จ่าย) ของธุรกิจนำเข้า-ส่งออก

- เอกสารที่ใช้บันทึกรับรู้รายการทางบัญชี

- ราคาที่ใช้บันทึกรับรู้รายการทางบัญชี

- อัตราแลกเปลี่ยนที่ใช้ในการบันทึกรับรู้รายการทางบัญชี

- บริษัทรับตัวแทนออกใบขนในนามบริษัทจะบันทึกบัญชีอย่างไร และต้องรับรู้รายได้หรือไม่

6. การจัดทำรายงานภาษีซื้อ รายงานภาษีขาย ที่เกิดจากการนำเข้า-ส่งออกให้ถูกต้องและไม่เป็นประเด็นกับสรรพากร

- เอกสารที่ใช้บันทึกรายงานภาษีซื้อ และรายงานภาษีขาย

- ราคาที่ใช้บันทึกรายงานภาษีซื้อ และรายงานภาษีขาย

- อัตราแลกเปลี่ยนที่ใช้บันทึกรายงานภาษีซื้อ และรายงานภาษีขาย

7. การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

- ประเภทของเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทส

- การบันทึกรายการทางบัญชีตามการเลือกใช้เครื่องมือแต่ละประเภท

8. การบันทึกบัญชีจากการโอนเงินไปต่างประเทศและผลกระทบทางภาษีที่เกี่ยวข้อง

8.1 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย จากการจ่ายเงินได้

- กำหนดเวลายื่นแบบและนำส่งเงินภาษี - ผู้มีหน้าที่หักและนำส่งภาษี

- ประเภทเงินได้พึงประเมินที่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย - การคำนวณภาษีที่เกี่ยวข้อง

8.2 ภาษีมูลค่าเพิ่ม จากการจ่ายเงินไปต่างประเทศ

- ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบ ภ.พ. 36 - การคำนวณภาษี

- กำหนดเวลายื่นแบบและนำส่งเงินภาษี

9. ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย กรณีได้รับค่าบริการจากต่างประเทศ

- ฐานภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการให้บริการ

- การใช้สิทธิเพื่อบรรเทาภาระภาษีที่เสียไปแล้ว (ถูกหัก ณ ที่จ่ายจากผู้จ่ายเงินให้)

10. การบันทึกรับรู้กำไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน ทางบัญชีและทางภาษีอากร

11. ค่าใช้จ่ายอะไรบ้างที่เกิดขึ้นจากการนำเข้า - ส่งออก ที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายและหักในอัตราเท่าใด

12. เขตประกอบการเสรี (Freetrade Zone) หรือเขตอุตสาหกรรมส่งออกเดิม

- วัตถุประสงค์การตั้งเขตประกอบการเสรี

- สิทธิประโยชน์ สิทธิประโยชน์ที่ไม่เกี่ยวกับภาษีอากรในเขตประกอบการเสรี

- สิทธิประโยชน์ด้านภาษีอากรในเขตประกอบการเสรี

- พิธีการศุลกากรที่ควรทราบสำหรับผู้ประกอบการในเขตประกอบการเสรี

13. คลังสินค้าทัณฑ์บน

- ประเภทของคลังสินค้าทัณฑ์บน

- สิทธิประโยชน์คลังสินค้าทัณฑ์บน

- การขออนุญาตจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บน

- ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต และค่าธรรมเนียมรายปี

- การนำของเข้า การเก็บของ และการนำของออกจากคลังสินค้าทัณฑ์บน

- หน้าที่ของผู้ได้รับใบอนุญาตจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บน

- การเลิกการดำเนินการคลังสินค้าทัณฑ์บน

14. Update กฎหมายศุลกากรฉบับใหม่ที่เกี่ยวกับการนำของเข้า ส่งของออก

15. อายุความในการเรียกเก็บอากรที่ไม่ได้เสียหรือเสียไม่ครบมีอายุความเท่าใด

16. ใช้หลักเกณฑ์อะไรในการเรียกเก็บอากรที่ไม่ได้เสียหรือเสียไม่ครบ รวมถึงเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม

17. การกักของ ขายทอดตลาด และการริบทรัพย์สินส่งผลกระทบทางบัญชีอย่างไร

18. หลักเกณฑ์ในการขอคืนอากรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดทางบัญชีและการบริหารควรดำเนินการอย่างไร

19. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
3:0 3:0 3:0 3:0

วิทยากร

ดร.สิงห์ชัย อรุณวุฒิพงศ์

สถานที่

โรงแรมโนโวเทล บางนา
333 ถ.ศรีนครินทร์ แขวง หนองบอน เขต ประเวศ กทม.
โทรศัพท์ :
02-3660505
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า MRT สถานีศรีอุดม ทางออกที่ 2 (ห่างจากสถานี 400 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba