การคำนวณผลประโยชน์พนักงานใหม่จากการเปลี่ยนแปลงกฎหมายแรงงานฉบับล่าสุด

รหัสหลักสูตร : 21/2421

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,815 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,564 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


การคำนวณผลประโยชน์พนักงานใหม่
จากการเปลี่ยนแปลงกฎหมายแรงงานฉบับล่าสุด

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี บัญชี รอ ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี รอ ชม.

 

วิทยากรโดย วิทยากรผูทรงคุณวุฒิทางด้านบัญชีและผู้เชี่ยวชาญการจัดทำบัญชีผลประโยชน์พนักงาน
และวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

หัวข้อสัมมนา

กฎหมายแรงงาน
1. Update กฎหมายแรงงานฉบับใหม่ ที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์พนักงาน
• อัตราค่าชดเชยกรณีเลิกจ้าง จากเดิม 5 อัตราเป็น 6 อัตรา
• กรณีการลากิจธุระจำเป็น ลูกจ้างสามารถลาได้กี่วัน
• การเพิ่มจำนวนวันลาคลอดของลูกจ้าหญิงตั้งครรภ์
2. กฎหมายแรงงานที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์พนักงาน
• พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
• พระราชบัญญัติประกันสังคม
• พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
3. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายแรงงานที่มีผลกระทบต่อผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน
(Short – Term Employee Benefits)
• เงินที่นายจ้างจ่ายลูกจ้างกรณีที่ไม่ได้มาทำงาน
• วันหยุด วันลา ตามกฎหมายแรงงาน
• สิทธิการลาชนิดสะสม และไม่สะสม
4. “ค่าจ้าง” มีองค์ประกอบสำคัญอะไรบ้าง
• ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ ค่าจ้าง ค่าตอบแทน
• อะไรคือ “ค่าจ้าง” อะไร คือ “สวัสดิการ”
• การจ่ายโบนัส ค่าเบี้ยขยัน ค่ากะ ค่าน้ำมัน ฯลฯ
5. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายแรงงานที่มีผลกระทบต่อผลประโยชน์หลังออกจากงาน
(Post Employee Benefits)
• การสิ้นสุดสัญญาจ้างในกรณีต่างๆ
• ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับการเลิกจ้าง
• การเกษียณอายุ หรือการเกษียณก่อนอายุ (Early retire)
6. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ(Provident Fund)
• การจัดทำตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
• อัตราเงินสะสมของลูกจ้าง และเงินสมทบของนายจ้างอัตราเท่าไหร่
• ผลประโยชน์เงินสมทบ และเงินสะสม
• การออกจากกองทุนสามารถทำได้ในกรณีใดบ้าง
7. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายประกันสังคม
8. ถาม-ตอบปัญหาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

ผลประโยชน์พนักงานตามมาตรฐานการบัญชี
1. หลักการมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 19 ผลประโยชน์พนักงานและมาตรฐานการรายงานทางการเงินของกิจการ
ที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ
2. ประเภทของผลประโยชน์ของพนักงาน
3. ผลประโยชน์หลังออกจากงาน
4. แนวคิดเกี่ยวกับโครงการผลประโยชน์
5. ผลประโยชน์หลังออกจากงาน-โครงการสมทบเงินที่กำหนดไว้
6. ผลประโยชน์หลังออกจากงาน-โครงการผลประโยชน์ที่กำหนดไว้
7. ผลประโยชน์หลังออกจากงาน-ความแตกต่างระหว่างโครงการสมทบเงินที่กำหนดไว้และโครงการผลประโยชน์
ที่กำหนดไว้
8. โครงการของกลุ่มนายจ้างโครงการรวมกลุ่มบริหาร
9. โครงการระดับภาครัฐ
10. ผลประโยชน์ที่มีการประกัน
11. การบัญชีสำหรับ ภาระผูกพันจากการอนุมาน
12. การรับรู้รายการและการวัดมูลค่าโครงการสมทบเงิน
13. องค์ประกอบของต้นทุนผลประโยชน์ที่กำหนดไว้
14. ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยและการคำนวณภาระผูกพันผลประโยชน์ NPAEs
15. การรับรู้รายการและการวัดมูลค่า- มูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ที่กำหนดไว้และ
ต้นทุนบริการปัจจุบัน
16. ดอกเบี้ยสุทธิจากหนี้สิน(สินทรัพย์) โครงการผลประโยชน์สุทธิทางบัญชีต้องปฏิบัติอย่างไร
17. ต้นทุนบริการในอดีตและผลกำไรและขาดทุนจากการจ่ายชำระผลประโยชน์
18. การวัดมูลค่าใหม่ของหนี้สิน(สินทรัพย์) ผลประโยชน์ที่กำหนดไว้สุทธิ
19. ผลกำไรและขาดทุนจากการจ่ายชำระผลประโยชน์
20. การรับรู้รายการและการวัดมูลค่า- สินทรัพย์โครงการ
21. การเปรียบเทียบส่วนเกินของโครงการผลประโยชน์กับเพดานสินทรัพย์ คือการลดเงินสมทบ Vs การจ่ายเงิน
คืนให้นายจ้าง
22. การแสดงรายการ
23. การเปิดเผยข้อมูล
24. ผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน-การรับรู้รายการและการวัดมูลค่า
25. ผลประโยชน์ระยะสั้นของพนักงาน-การรับรู้รายการและการวัดมูลค่า
26. การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงและวันถือปฏิบัติ


นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
3:0 3:0 3:0 3:0

วิทยากร

อาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
ดร.ปัญญา สัมฤทธิ์ประดิษฐ์

สถานที่

โรงแรมดุสิตปริ๊นเซส ศรีนครินทร์
53 Srinakarin Road, Nongbon, Pravet Bangkok, Nong Bon, Prawet, Bangkok 10250
โทรศัพท์ :
02 721 8400
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า MRT สถานีสวนหลวง ร.9 ทางออกที่ 1 (ห่างจากสถานี 300 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba