แนวทางปฏิบัติและวิธีการแก้ไขตามพระราชบัญญัติ Transfer Pricing ฉบับใหม่ สำหรับนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน

รหัสหลักสูตร : 21/8321

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 5,885 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 6,955 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


แนวทางปฏิบัติและวิธีการแก้ไขตามพระราชบัญญัติ
Transfer Pricing ฉบับใหม่ สำหรับนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กัน


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ รอ ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ รอ ชม.

 

วิทยากรโดย อาจารย์ไพบูลย์ ฉายรักษา

หัวข้อสัมมนา

1. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันตามพระราชบัญญัติฉบับใหม่
- กรณีบุคคลธรรมดาถือหุ้นไขว้กันจะถือว่ามีความสัมพันธ์กันหรือไม่
- ถือหุ้นทางอ้อม หมายความว่าอย่างไร
- การดูงบการเงินรวม
- รูปแบบอื่นที่สรรพากรมองว่าอาจมีความสัมพันธ์กัน มีลักษณะอย่างไรบ้าง

2. การขายหรือให้บริการที่ตํ่ากว่าราคาตลาดตามความหมายในพระราชบัญญัตินี้ที่จะถือว่าเป็น
Transfer Pricing (วิทยากรยกตัวอย่าง)

3. เหตุอันสมควรที่ไม่ถือเป็น Transfer Pricing ตามพระราชบัญญัตินี้

4. ประเด็นที่สรรพากรจะมองว่าเป็นการถ่ายโอนกำไรระหว่างกันมีประเด็นใดบ้าง

- การจ่ายเงินปันผลจะถูกเพ่งเล็งหรือไม่
- การโอนจ่ายค่า Management fee ให้กับบริษัทแม่ที่ต่างประเทศ
- การจ่ายค่าลิขสิทธิ์
- การจ่ายค่า R&D
- การกู้ยืมเงินระหว่างกัน

5. กรณีสรรพากรมองว่าเป็นการกำหนดราคาที่ไม่เป็นไปตามราคาตลาด จึงปรับรายได้และรายจ่ายของ
ผู้ประกอบการจะมีผลอย่างไร

- กรณียื่นแบบไปเมื่อหลายปีแล้วสรรพากรตรวจพบว่ากำหนดราคาตลาดไม่เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดจะมีผล
ย้อนหลังหรือไม่
- กรณีถูกเจ้าหน้าที่สรรพากรปรับรายได้และรายจ่ายแล้วมีภาษีที่ต้องขอคืน หากไม่ขอคืนจะมีผลอย่างไรหรือไม่

6. ผู้ประกอบการยังสามารถปฏิบัติตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.113/2545 ได้อยู่หรือไม่
- วิธีการหาราคาตลาดระหว่างบริษัทในเครือยังสามารถใช้วิธีตาม ป.113/2545 ได้อยู่หรือไม่
• Comparable Uncontrolled Price Method * Resale Price Method
• Cost Plus Method * Other Methods ที่เหมาะสม

7. กรณีบริษัทในเครือมีธุรกรรมระหว่างกันที่มีมูลค่าไม่ถึง 200 ล้านบาท ต้องจัดทำเอกสารเพื่อส่งให้
สรรพากรหรือไม่

8. กรณีบริษัทในเครือที่มีธุรกรรมเกิน 200 ล้านบาท ต้องจัดทำเอกสารและรายงาน Transfer Pricing
Documentationอย่างไร

- โครงสร้างของนิติบุคคลที่มีความสัมพันธ์กันต้องจัดทำอย่างไร
- การจัดทำรายงานข้อมูลที่ต้องยื่นพร้อมกับการยื่นแบบ ภ.ง.ด. 50 ประกอบด้วยอะไรบ้าง
- การจัดทำ Transfer Pricing Documentation เพื่อรองรับว่าเป็นราคาตลาดให้สรรพากรยอมรับและตรวจสอบได้
- การจัดทำรายงานธุรกรรมระหว่างกันรวมถึงมูลค่ารวมหากยังไม่ทราบมูลค่ารวมแน่นอนต้องทำอย่างไร
- การจัดทำ Local file, Master file, Country by Country Report

9. หากกิจการถูกสรรพากรปรับเรื่องของรายได้และรายจ่าย จะมีผลในการตรวจสอบภาษีประเด็นอื่นๆ
ด้วยหรือไม่

- ประเด็น CIT
- ประเด็น VAT
- ประเด็นหัก ณ ที่จ่าย

10. โทษปรับที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้เป็นอย่างไร
- ปรับเป็นรายธุรกรรม
- รวมกันหลายธุรกรรม

11. Case Studies ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับการกำหนดราคาโอน Transfer Pricing ทั้งกรณีสรรพากร
ยอมรับและไม่ยอมรับ

12. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยายบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี


นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์ไพบูลย์ ฉายรักษา

สถานที่

โรงแรมดุสิตปริ๊นเซส ศรีนครินทร์
53 Srinakarin Road, Nongbon, Pravet Bangkok, Nong Bon, Prawet, Bangkok 10250
โทรศัพท์ :
02 721 8400
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า MRT สถานีสวนหลวง ร.9 ทางออกที่ 1 (ห่างจากสถานี 300 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba