69 ประเด็นผลประโยชน์พนักงาน ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยของมาตรฐานบัญชี ฉบับที่ 19

รหัสหลักสูตร : 21/2187

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,494 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,243 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

หัวข้อสัมมนา

1. คณิตศาสตร์ประกันภัยคืออะไร มีที่มาอย่างไร

2. ทำไมนักคณิตศาสตร์ประกันภัยจึงต้องเกี่ยวข้องกับนักบัญชี

3. มาตรฐานคณิตศาสตร์ประกันภัยอยู่ตรงไหน

4. นักคณิตศาสตร์ประกันภัยมีกี่ระดับ และแต่ละระดับมีอะไรบ้าง

5. นักคณิตศาสตร์ประกันภัยแต่ละระดับแตกต่างกันอย่างไรบ้าง

6. เราจะเช็คคุณสมบัติของนักคณิตศาสตร์ประกันภัยได้อย่างไร

7. จำเป็นต้องใช้นักคณิตศาสตร์ประกันภัยหรือไม่ (ในสถานการณ์ไหนที่จำเป็น และเมื่อไรถึงไม่จำเป็น)

8. ISAP1 & TSAP 1 คืออะไร มีสาระสำคัญตรงไหนบ้าง

9. ISAP3 & TSAP3 คืออะไร มีสาระสำคัญตรงไหนบ้าง

10. วิธีการตรวจสอบคุณวุฒิของนักคณิตศาสตร์ประกันภัยผู้ทำการประมาณ

การว่ามีคุณวุติพอที่จะลงนามรับรองเงินสำรองที่ประมาณการได้หรือไม่

11. แหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้สำหรับการยืนยันความสามารถของนักคณิตศาสตร์ประกันภัย

12. การคำนวณผลประโยชน์พนักงานคืออะไร

13. ทำไมต้องคำนวณผลประโยชน์พนักงาน

14. ภาษี กับ การตั้งสำรองทางคณิตศาสตร์ประกันภัย

15. ขั้นตอนในการคำนวณเกี่ยวกับข้อมูล

16. ข้อมูลที่ต้องเก็บในการคำนวณผลประโยชน์พนักงานมีอะไรบ้าง

17. วิธีตรวจสอบจำนวนพนักงาน และ เงินเดือนของพนักงานที่ส่งให้นัก

คณิตศาสตร์ประกันภัยว่ามีความสอดคล้องกับ ฐานข้อมูลการจ่ายเงินเดือน

18. ข้อมูลที่มักจะผิดพลาดหรือขาดหายไป (เป็นศูนย์ หรือ ติดลบเกี่ยวกับ

รหัสพนักงาน วันเกิด วันเข้าทำงาน เพศ )

19. การตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูล ข้อมูลที่ขาดหาย

20. จะทำอย่างไรเมื่อตรวจสอบฐานพบว่าข้อมูลว่าไม่มีรหัสพนักงานหรือ

รายชื่อ ซํ้าหรือปรากฏมากกว่าหนึ่งครั้ง

21. การตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลพนักงานระดับผู้บริหาร เพราะ

เป็นข้อมูลที่มีนัยสำคัญต่อผลของการประมาณการ

22. วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของข้อมูลพนักงาน

23. วิธีการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อมูลพนักงาน

24. ปัญหาที่พบเจอบ่อยในการเก็บข้อมูลและการตรวจทานข้อมูลพนักงาน

25. ขั้นตอนในการคำนวณเกี่ยวกับสมมติฐานในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย

26. หลักการตั้งสมมติฐานทางคณิตศาสตร์ประกันภัย – อัตราคิดลด

27. ค่าเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักการจ่ายผลประโยชน์ คืออะไร สำคัญอย่างไรและควรคำนวณหาอย่างไรจึงจะถูกต้อง

28. เหตุใดจึงควรใช้พันธบัตรรัฐบาลเป็นตัวอ้างอิงสำหรับอัตราคิดลด

29. หลักการตั้งสมมติฐานทางคณิตศาสตร์ประกันภัย - อัตราขึ้นเงินเดือน

30. หลักการตั้งสมมติฐานทางคณิตศาสตร์ประกันภัย - อัตราการลาออก

31. หลักการตั้งสมมติฐานทางคณิตศาสตร์ประกันภัย - อัตรามรณะ

32. วิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของข้อสมมติฐานในการ

ประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย

33. วิธีตรวจสอบความถูกต้องของข้อสมมติในการประมาณการตาม

หลักคณิตศาสตร์ประกันภัย ว่ามีความสอดคล้องกับแหล่งอ้างอิง

เช่น อัตราคิดลด มีความสอดคล้องกับ เส้นอัตราผลตอบแทนหรือไม่

ตารางมรณะ มีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงหรือไม่ หรือตรวจสอบ

แหล่งข้อมูลอ้างอิงภายในถ้าข้อมูลมีมากเพียงพอ

34. การวิเคราะห์ความอ่อนไหว (sensitivity test) คืออะไร

35. ความสำคัญของการวิเคราะห์ความอ่อนไหว (sensitivity test)

ที่นักบัญชีต้องรู้

36. ขั้นตอนในการคำนวณเกี่ยวกับการวิเคราะห์ความอ่อนไหว

37. ข้อสมมติที่ใช้ในการจัดทำการวิเคราะห์ความอ่อนไหวของข้อสมมติฐานหลักมีอะไรบ้าง

38. ตัวอย่างและกรณีศึกษาของผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหว – อัตราคิดลด

39. ตัวอย่างและกรณีศึกษาของผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหว – อัตราขึ้นเงินเดือน

40. ตัวอย่างและกรณีศึกษาของผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหว – อัตราการลาออก

41. ตัวอย่างและกรณีศึกษาของผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหว – อัตรามรณะ

42. การคาดการณ์กระแสเงินสด คืออะไร มีประโยชน์อะไร และใช้ในกรณีไหนบ้าง

43. ประโยชน์ของการคาดการณ์กระแสเงินสด และการเอาไปใช้

44. การเปิดเผยข้อมูลตามมาตรฐานการบัญชี (disclosure) ในเรื่องการคาดการณ์ กระแสเงินสด ทำอย่างไร

45. การครบกำหนดของกระแสเงินสดซึ่งยังไม่ได้คิดลด คืออะไร มีประโยชน์อะไรจะใช้ในกรณีไหนบ้าง

46. การครบกำหนดของกระแสเงินสดซึ่งยังไม่ได้คิดลดมีประโยชน์อะไร

47. การครบกำหนดของกระแสเงินสดซึ่งยังไม่ได้คิดลดจะใช้ในกรณีไหนบ้าง

48. การเปิดเผยข้อมูลตามมาตรฐานการบัญชี (disclosure) ในเรื่องการครบกำหนดของกระแสเงินสดซึ่งยังไม่ได้คิดลด ทำอย่างไร

49. การรับรู้และการบันทึกบัญชี (booking)

50. การกระทบยอดหนี้สิน (สินทรัพย์) ผลประโยชน์ที่กำหนดไว้สุทธิ

51. ส่วนประกอบต้นทุนของผลประโยชน์ที่กำหนดไว้ใน งบกำไรขาดทุน

52. การวัดมูลค่าใหม่ (รับรู้ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสมมติฐาน

53. การวัดมูลค่าใหม่ (รับรู้ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น) ที่เกิดจากค่าประสบการณ์ที่เปลี่ยนไป

54. ขั้นตอนในการคำนวณเกี่ยวกับการวัดมูลค่าใหม่

55. การประมาณการต้นทุนของผลประโยชน์ที่กำหนดไว้ในอนาคต

56. โอกาสและความคลาดเคลื่อนที่จะเกิดขึ้นในการประมาณการอนาคต

57. ทำไมถึงมีความคาดเคลื่อนเกิดขึ้นได้ในอนาคต

58. ความถี่ในการประเมินในแต่ละครั้ง

59. เหตุใดจึงควรใช้ความถี่ดังกล่าวเป็นมาตรฐานในการคำนวณ

60. จะรู้ได้อย่างไรว่ารายงานการประเมินที่ได้นั้น ถูกต้องตามหลักการคณิตศาสตร์ประกันภัย

61. วิธีแปลผลและอ่านรายงานของนักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ถูกต้อง

62. วิธีปฏิบัติเมื่อนำมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาใช้ครั้งแรก (first adoption)

63. Materiality ของงบ จากการคำนวณที่ไม่ได้มาตรฐาน

64. ปัญหาที่มีเพียงนักคณิตศาสตร์ประกันภัยเท่านั้นที่รู้

65. Checklist สำหรับผู้ตรวจสอบบัญชี เพื่อการทำงานที่ง่ายขึ้น

66. 6 วิธีการการตรวจสอบผลการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย

67. โปรแกรมการคำนวณอย่างง่ายของผลประโยชน์ของพนักงานเมื่อเลิกจ้างตามมาตรฐานการบัญชี TFRS for SMEs

68. การประยุกต์ใช้หลักการคณิตศาสตร์ประกันภัยที่นอกเหนือจากการคำนวณผลประโยชน์พนักงาน

69. หลักปฏิบัติงานและจรรยาบรรณของนักคณิตศาสตร์ประกันภัยที่ผู้ทำบัญชีและผู้สอบบัญชีพึงทราบ

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
6:0 0:0 6:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์พิเชษฐ์ สิทธิโชคสกุลชัย

สถานที่

โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพ (ฝั่งตึกฮอลิเดย์ อินน์)
973 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี
เขต ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ :
02 656 0444
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีชิดลม ทางออกที่ 6


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba