หลักเกณฑ์ วิธีการเกี่ยวกับเอกสารหลักฐาน,หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ทางภาษี ใบกำกับภาษี ใบรับ และเอกสารอื่น ที่ต้องมี จัดทำ หรือใช้ตามกฎหมายใหม่ของกรมสรรพากร

รหัสหลักสูตร : 21/1805

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร



หลักเกณฑ์ วิธีการเกี่ยวกับเอกสารหลักฐาน,หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ทางภาษี ใบกำกับภาษี ใบรับ และเอกสารอื่น ที่ต้องมี จัดทำ หรือใช้ตามกฎหมายใหม่ของกรมสรรพากร
หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.

• ใครมีหน้าที่อย่างไรบ้าง? ในเอกสารแต่ละประเภท ข้อควรระวังเมื่อต้องจัดทําในระบบอิเล็กทรอนิกส์
• เคลียร์ชัด!! ตั้งแต่ขั้นตอนการออก ส่งมอบ เก็บรักษา ต้องรู้อะไรบ้าง? เตรียมตัวอย่างไร? ให้ทุกขั้นตอนถูกต้องครบถ้วนตามที่สรรพากรกําหนด
• หลักเกณฑ์ใหม่ที่มีผลกระทบต่อทุกกิจการ! ชี้จุดที่แตกต่าง และสิ่งที่ต้องทําเพิ่ม

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านกฎหมายภาษีอากร

หัวข้อสัมมนา

1. เอกสารหลักฐานหรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายภาษีอากร
• “แบบ”
• “รายงาน”
• “บัญชี”
• ใบกำกับภาษีใบรับ เอกสารหรือหนังสืออื่นใด

2. ผลกระทบกับ คำร้อง คำขอ ที่ยื่นต่อกรมสรรพากรด้วยอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด ผ่านระบบ e-filing
• การยื่นแบบแสดงรายการ และชำระภาษี
• รายงาน Disclosure Form
• การยื่น ค.10
• การยื่นอุทธรณ์ออนไลน์ฯลฯ

3. ใครบ้างมีหน้าที่เกี่ยวกับเอกสารหลักฐานหรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายภาษีอากร
• ผู้เสียภาษีผู้ประกอบการจดทะเบียน ผู้มีหน้าที่ออกใบรับ หรือบุคคลอื่นใด
• ผู้ให้บริการจัดทำหรือนำส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ต้องมีลักษณะอย่างไร

4. หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการทางอิเล็กทรอนิกส์ที่กรมสรรพากร และผู้เสียภาษีต้องปฏิบัติ
• กิจการของท่านควรให้ใครเป็นผู้พิสูจน์และยืนยันตัวตนต่อกรมสรรพากร และมีข้อควรระวังอย่างไร
• ประเภท ลักษณะ รูปแบบการระบุและการพิสูจน์ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย
• การจัดทำให้เอกสารหลักฐานหรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ใช้ได้ถูกต้องครบถ้วน และใช้อ้างอิงได้ภายหลัง
• ลักษณะของระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องเตรียมเพื่อเชื่อต่อระบบอิเล็กทรอนิกส์กับของกรม สรรพากร
• วิธีการ เงื่อนไข ระยะเวลาในการจัดเก็บ และรักษาความมั่นคงปลอดภัยของเอกสารหลักฐานหรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
• การแจ้งการได้รับเอกสารหลักฐานหรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์

5. เอกสารหลักฐานหรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องใช้ในการติดต่อกับกรมสรรพากร
• ใครที่สามารถจัดทำและยื่นหรือนำส่งได้
• การมอบหมายให้บุคคลอื่นกระทำแทนต้องดำเนินการอย่างไร
• วันใดถือว่าได้ส่งหรือได้รับเข้าระบบอิเล็กทรอนิกส์ของกรมสรรพากร
• หลักฐานที่จะใช้ยืนยันจากกรมสรรพากร

6. วิธีการจัดทำ ส่ง หรือเก็บรักษาใบกำกับภาษีหรือใบรับอิเล็กทรอนิกส์
• ความแตกต่างของใบกำกับภาษีแบบอิเล็กทรอนิกส์กับแบบกระดาษแตกต่างกันอย่างไร
• สิ่งที่ต้องทำเพิ่มหรือแตกต่างจากเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป มีอะไรบ้าง และต้องทำอย่างไร
• รูปแบบ ขนาด และประเภทของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมาย
• รายการในใบรับหรือใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ที่ต้องจัดทำและมีตามที่กฎหมายกำหนด
• วิธีการส่งมอบทางอิเล็กทรอนิกส์เมื่อออกใบรับหรือใบกำกับภาษีให้ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการตามกฎหมาย
• กิจการออกใบกำกับภาษีอย่างย่อด้วยต้องปฏิบัติอย่างไร และส่งข้อมูลให้สรรพากรด้วยวิธีใด
• หลักเกณฑ์การยกเลิกและออกใหม่ต้องปฏิบัติอย่างไร และมีข้อความอะไรบ้าง
• การจัดเก็บรักษา ออกเป็นกระดาษ กับอิเล็กทรอนิกส์ต้องจัดเก็บต่างกันหรือไม่อย่างไร
• ออกใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์แล้วจัดส่งด้วยกระดาษได้หรือไม่

7. สรุปกระบวนการจัดทำและนำส่งเอกสารผ่านระบบ e-filing กรมสรรพากร

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านกฎหมายภาษีอากร

สถานที่

โรงแรม โนโวเทล กรุงเทพ ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba