เจาะประเด็นสำคัญการตรวจสอบใบกำกับภาษีปลอมและเอกสารหลักฐานค่าใช้จ่ายของกิจการ (จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM)

รหัสหลักสูตร : 21/1171Z

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 2,889 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 3,424 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


เจาะประเด็นสำคัญการตรวจสอบใบกำกับภาษีปลอม
และเอกสารหลักฐานค่าใช้จ่ายของกิจการ


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline                CPA นับ ชม.แบบไม่เป็นทางการได้  
 
  • รู้ไว้ไม่ติดคุก!! อย่างไร “มีเจตนา” หรือ “ไม่มีเจตนา” ใช้ใบกำกับภาษีปลอม โทษจำคุก 7 ปี
  • โทษจำคุก 7-20 ปีใครที่จะเป็นผู้ต้องรับโทษ
  • รู้จัก รู้เท่าทัน รู้ระวัง รู้ป้องกัน ใบกำกับภาษีปลอม และเอกสารหลักฐานในการลงรายจ่ายเท็จ
  • 6 ลักษณะใบกำกับภาษีใบกำกับภาษีปลอมที่กิจการต้องรู้!!!
  • ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ และเอกสารหลักฐานในการลงรายจ่ายที่ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วนหรือไม่สมบูรณ์

วิทยากรโดย  อาจารย์ชุมพร เสนไสย

หัวข้อสัมมนา

1. อย่างไรเรียกว่าใบกำกับภาษีปลอมและเอกสารหลักฐานการลงรายจ่ายเท็จ
- ใบกำกับภาษีปลอมในความหมายของสรรพากร ที่นักบัญชีและกิจการไม่ควรพลาด
- ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ที่ออกโดยไม่มีสาเหตุ

2. 6 ลักษณะของใบกำกับภาษี/ ใบกำกับภาษีปลอมที่กิจการต้องรู้!!!
- ปลอมทั้งฉบับ
- ปลอมแปลงบางส่วน
- ผู้ออกใบกำกับภาษีเข้าสู่ระบบ VAT แต่ไม่ได้ขายหรือให้บริการ
- ผู้ออกใบกำกับภาษีไม่ได้เข้าสู่ระบบ VAT แต่ขายหรือให้บริการสินค้านั้น ๆ
- คนขายออกใบกำกับภาษีให้กับผู้ติดต่อซื้อสินค้า จากลูกค้า
- ผู้ขาย ผู้ออกไม่มีตัวตน

3. จุดสังเกตหรือข้อพิจารณาใบกำกับภาษีที่ได้รับเป็นใบกำกับภาษีปลอม ใบกำกับภาษีที่ออกโดยไม่มีสิทธิออกหรือไม่
- นักบัญชีจะทราบได้อย่างไรว่าใบกำกับภาษีที่ได้รับเป็นใบกำกับภาษีปลอม
- ปัจจัยหรือแนวโน้มที่บ่งชี้ถึงใบกำกับภาษีที่ได้รับใบกำกับภาษีที่นำไปใช้เป็นใบกำกับภาษีปลอม
- ประเภทกิจการหรือลักษณะกิจการที่เสี่ยงต่อการใช้ใบกำกับภาษีปลอม
- ประเภทสินค้าที่มีความเสี่ยงสูง
- การซื้อสินค้าจากสถานที่ที่ไม่น่าเชื่อถือ
- การชำระค่าสินค้า บริการด้วยเงินสดจำนวนมาก

4. ผู้ประกอบการ ผู้ทำบัญชีจะตรวจสอบใบกำกับภาษีปลอมเอกสารหลักฐานค่าใช้จ่ายของกิจการได้อย่างไร
- จะหาข้อเท็จจริงว่าปลอมได้จากไหน
- การสอบยันผู้ออกใบกำกับภาษีทำได้หรือไม่
- การพิสูจน์ใบกำกับภาษีปลอมหรือใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้ไม่มีสิทธิออก

5. เมื่อเจอใบกำกับกำภาษีปลอมหรือใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ เอกสารหลักฐานการลงรายจ่ายที่ออกโดยไม่ชอบจะต้องดำเนินการอย่างไรจะแก้ไขอย่างไร
- ได้รับใบกำกับภาษีมาแต่มาทราบภายหลังว่าเป็นใบกำกับภาษีปลอม และไม่สามารถติดต่อ ผู้ออกใบกำกับภาษีได้หรือผู้ออกใบกำกับภาษีไม่ออกใหม่ให้จะทำอย่างไร

6. โทษและความรับผิดกรณีการออกใบกำกับภาษีปลอมหรือใบกำกับภาษีที่ออกโดยไม่มีสิทธิออก
- โทษทางทางแพ่ง
- โทษทางอาญา
- ชำระโทษทางเแพ่งหมด โทษทางอาญาจะระงับหรือไม่
- ฐานความผิดในด้านผู้ออกและผู้รับใบกำกับภาษีปลอม หรือใบกำกับภาษีที่ออกโดยไม่มีสิทธิออกต่างกันหรือไม่อย่างไร

7. แนวทางในการพิจารณาความผิดในการใช้ใบกำกับภาษีปลอม และการปลอมแปลงเอกสารของสรรพากร

8. ประเด็นปัญหาการออกและใช้ใบกำกับภาษีปลอม ใบลดหนี้ใบเพิ่มหนี้ที่ไม่ถูกต้อง
- การนำใบกำกับภาษีปลอมไปใช้ในการเครดิตภาษี
      * หากผู้รับใบกำกับภาษีปลอมไม่ทราบว่าเป็นใบกำกับภาษีปลอม และไม่มีเจตนาที่จะนำ ใบกำกับภาษีปลอมไปใช้ในการเครดิตภาษีจะมีแนวทางชี้แจงต่อกรมสรรพากรอย่างไร
      * นำใบกำกับภาษีปลอมบางส่วนมาใช้ในการคำนวณภาษี
- ใบกำกับภาษีปลอม หรือใบกำกับภาษีที่ออกโดยไม่มีสิทธิออกสามารถนำมาเป็นหลักฐานในการลงรายจ่ายได้หรือไม่
- กรณีนำใบลดหนี้ใบเพิ่มหนี้ที่ออกโดยไม่มีสาเหตุ ตามที่สรรพากรกำหนดมาใช้

9. สรรพากรมีแนวทางในการดำเนินการตรวจสอบใบกำกับภาษีปลอมของกิจการอย่างไร
- การประเมินความเสี่ยงการใช้ใบกำกับภาษีปลอมในกิจการของสรรพากร
- การตรวจดูใบกำกับภาษีที่เป็นข้อสังเกต
- แนวทางแก้ไขเมื่อสรรพากรตรวจพบใบกำกับภาษีปลอม
      * สรรพากรมีแนวทางอนุโลมหรือไม่หากพบใบกำกับภาษีปลอมที่มาใช้ในกิจการเพียงเล็กน้อย หรือสามารถพิสูจน์ตัวผู้ออกใบกำกับภาษีได้
- กรมสรรพากรมีแนวทางพิจารณาอย่างไรหรือไม่ว่า “มีเจตนา” หรือ “ไม่มีเจตนา”ใช้ใบกำกับภาษีปลอม

10. แนวคำพิพากษาที่น่าสนใจของการใช้ใบกำกับภาษีปลอม

11. การวางระบบเพื่อป้องกันใบกำกับภาษีปลอมและเอกสารหลักฐานค่าใช้จ่ายอื่นของกิจการ

12 เอกสารหลักฐานค่าใช้จ่ายของกิจการที่นักบัญชีต้องระวัง
- รายงานสินค้าและวัตถุดิบ(การบันทึกรับสินค้า)
- ใบส่งของ
- บิลเงินสด, บิลค่าน้ำมัน, บิลค่าทางด่วน, บิลค่าโทรศัพท์
- ค่าที่พักของเซลล์หรือพนักงานของบริษัท ที่ออกไปปฏิบัติงานต่างจังหวัด
- เอกสารหลักฐานในการลงรายจ่ายเท็จในความหมายของสรรพากรมีลักษณะอย่างไร
- เอกสารหลักฐานในการลงรายจ่ายออกไม่ถูกต้อง ออกไม่ครบถ้วนหรือ เป็นเอกสารหลักฐานเท็จ หรือไม่และสามารถนำมาลงรายจ่ายได้หรือไม่ อย่างไร

 

เงื่อนไขการเข้าอบรม
1. กำหนดจำนวนผู้เข้าสัมมนา 1 ท่าน / 1 User
2. ผู้เข้าสัมมนาต้องเข้าห้องสัมมนาก่อนเวลาที่ระบุไว้อย่างน้อย 20 นาที
3. ผู้เข้าสัมมนาต้องตั้งชื่อบัญชี ZOOM เป็นชื่อ-นามสกุลจริงด้วยภาษาไทย ให้ตรงตามบัตรประชาชน
4. ผู้เข้าสัมมนาสามารถกดปุ่มยกมือ (Raise Hand)หรือพิมพ์ข้อคำถาม ผ่านทางช่องแชทได้ในระหว่างอบรม
5. หนังสือรับรองจะจัดส่งให้ทาง e-mail ภายใน 1 วันทำการ หลังเสร็จสิ้นการอบรม

หลักสูตรนี้จะมีการบันทึกเสียงและภาพของผู้เข้าอบรมทุกคนตลอดระยะเวลาการอบรม
เพื่อใช้เป็นหลักฐานนําส่งสภาวิชาชีพบัญชี

** ห้ามบันทึกเสียง ภาพ วีดีโอ แชร์ หรือนำไปเผยแพร่โดยเด็ดขาด (สงวนลิขสิทธิ์) **

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ ไม่เป็นทางการ (นับชั่วโมงได้ตามจำนวน ชม. การเข้าอบรมจริง)
0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์ชุมพร เสนไสย

สถานที่

จัดอบรมออนไลน์ผ่าน ZOOM (CPA นับชั่วโมงแบบไม่เป็นทางการได้)
โทรศัพท์ :
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba