รวมประเด็นภาษีที่เกี่ยวข้องและมีผลกระทบกับการทำงานของรัฐวิสาหกิจ

รหัสหลักสูตร : 21/1699

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 5,243 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,992 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


รวมประเด็นภาษีที่เกี่ยวข้อง
และมีผลกระทบกับการทำงานของรัฐวิสาหกิจ

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี นับชั่วโมงอื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี นับชั่วโมงอื่นๆ 6 ชม.

Promotion พิเศษ!!!
เข้า 2 ท่านลด 500 บาท
เข้า 3 ท่าน ลด 1,000 บาท
(หลักสูตรเดียวกัน/ ใบเสร็จรับเงินฉบับเดียวกัน / ไม่ร่วมโปรโมชั่นอื่น)

วิทยากรโดย อาจารย์ชุมพร เสนไสย


หัวข้อสัมมนา

  1. รัฐวิสาหกิจที่ต้องเสียภาษีตามประมวลรัษฎากร
    - ฐานหน่วยภาษีของรัฐวิสาหกิจ
  2. ภาระภาษีของรัฐวิสาหกิจทั้งในฐานะผู้รับเงิน และผู้จ่ายเงิน
  3. ปัญหาการรับรู้รายได้ และเอกสารรายรับของรัฐวิสาหกิจ ในการตรวจสอบภาษีของสรรพากร
    - รายได้จากการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ ที่ต้องเสียและไม่เสียภาษีสรรพากร
    - รายได้อื่นๆ เช่น ดอกเบี้ยเงินฝาก ค่าเช่า การจำหน่ายสินค้า ค่าธรรมเนียม ค่าบำรุง
    ค่าตอบแทน ค่าบริการ ค่าเช่าพื้นที่ค่าจัดอบรมสัมมนา ค่าเช่าห้องฝึกอบรม/ คอมพิวเตอร์
  4. ค่าใช้จ่ายของรัฐวิสาหกิจ ข้อควรระวังในการจัดทำรายงาน และเอกสารที่ใช้ประกอบการลงรายจ่ายของรัฐวิสาหกิจ
    - แนวการตรวจสอบเกี่ยวกับรายจ่ายที่กำหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง
    - ไม่มีหลักฐานในการจ่ายเงิน
    - รายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจที่สรรพากรยอมรับ
  5. ภาระภาษีมูลค่าเพิ่มของรัฐวิสาหกิจ
    - รายได้ใดที่ต้องเสีย VAT, Non-VAT, ไม่อยู่ในระบบ VAT พิจารณาอย่างไร
    - VAT 7%, VAT 0% และ ไม่อยู่ในระบบ VAT (Out Of VAT)
  6. หลักเกณฑ์การออกใบกำกับภาษี, ใบเพิ่มหนี้, ใบลดหนี้ และ e-Tax Invoice & e-Recipt ของกรมสรรพากร
    - ไม่ออก, ออกไม่ตรงกับจุดความรับผิด (Tax Point)
    - ออกโดยไม่มีสิทธิออก
    - ออกล่าช้า
    - ออกไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์สรรพากร
    - การตรวจสอบใบกำกับภาษีซื้อ ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวกับกิจการ, ภาษีซื้อที่เกี่ยวกับค่ารับรอง
    - การตรวจสอบภาษีซื้อ ภาษีขาย และการเฉลี่ยภาษี
    - โทษและความรับผิดกรณีเสียและนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ถูกต้อง
  7. การหักภาษี ณ ที่จ่ายของรัฐวิสาหกิจทั้งในฐานะผู้รับและผู้จ่าย
    - อัตรา และวิธีปฏิบัติในการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
    - รัฐวิสาหกิจควรเข้าระบบ e-Withholding Tax หรือไม่
    - วิธีปฏิบัติการหัก ภาษี ณ ที่จ่าย 2 ระบบ แบบ e-Withholding Tax และแบบกระดาษ
  8. UPDATE กฎหมายภาษีในระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่มีผลต่อรัฐวิสาหกิจ
    - e- Payment
    - ระบบ e-Withholding Tax
    - ระบบ e-Tax Invoice & e- Receipt
    - e- Filling
  9. การจ่ายเงินค่าบริการ ค่าที่ปรึกษาไปต่างประเทศมีภาระต้องนำส่ง ภ.ง.ด.54 และ ภ.พ. 36 อย่างไร
  10. การตรวจสอบการกระทบยอด และการนำส่งภาษี
    - การกระทบยอด ภ.ง.ด.53 กับ ภ.พ.30
    - การกระทบยอดรายได้ กับ ภ.พ.30 กับ ภ.พ. 36
    - การกระทบยอดรายจ่าย กับ ภ.ง.ด.53, ภ.ง.ด.54
  11. ภาระภาษีที่เกี่ยวกับพนักงาน, ลูกจ้าง ของรัฐวิสาหกิจ
    - การวางแผนภาษี การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี และสิทธิลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา
    - จ่ายเงินให้บุคคลธรรมดา กับนิติบุคคลต่างกันหรือไม่
    - เงินเดือน, เงินประจำตำแหน่ง, เงินได้ของผู้บริหาร (Board of Directors)
    - เงินเพิ่มพิเศษ, ค่าล่วงเวลา
    - ค่าเบี้ยเลี้ยง, ค่าพาหนะ, ค่าน้ำมัน
    - มีลูกจ้างเป็นชาวต่างชาติต้องคำนวณภาษีอย่างไร
    - เลิกจ้าง, เกษียณอายุ
    - จ่ายค่าเบี้ยประชุมและค่าตอบแทนให้แก่คณะกรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิ
    - ปัญหาการหักภาษี ณ ที่จ่าย เงินเดือน ค่าจ้าง ของพนักงาน ลูกจ้าง นักศึกษาฝึกงาน
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์ชุมพร เสนไสย

สถานที่

โรงแรมสวิสโฮเต็ล กรุงเทพฯ รัชดา
204 รัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทรศัพท์ :
02-694-2222
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง ทางออกที่ 2


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba