เจาะลึกผลกระทบจากภาวะ COVID-19 ที่มีต่อการจัดทำงบการเงินตามมาตรฐาน NPAEs รอบปี 2563 (หลักสูตรใหม่ปี 2564)

รหัสหลักสูตร : 23/4150

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 2,675 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 3,317 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร



เจาะลึกผลกระทบจากภาวะ COVID-19 ที่มีต่อการจัดทำงบการเงิน
ตามมาตรฐาน NPAEs รอบปี 2563


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี บัญชี 3 ชม. อื่นๆ 3 ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี 3 ชม. อื่นๆ 3 ชม.

 

วิทยากรโดย อาจารย์วิทยา เอกวิรุฬห์พร และอาจารย์สุรีรัตน์ โชติพันธุ์วิทยากุล

หัวข้อสัมมนา

1.Supply Chain กับวงจรเศรษฐกิจในระดับประเทศ และในระดับโลก เศรษฐศาสตร์
มหภาคและ
เศรษฐศาสตร์จุลภาคกับความสำคัญของการแสดงข้อมูลการเงินในงบการเงิน

2.ผลกระทบทางด้านการเงิน การผลิต การบริหารจัดการ อุตสาหกรรมจะได้รับผลกระทบ
ทันทีหรือ
ผลกระทบต่อเนื่องเหมือนหรือต่างกันอย่างไร

3.วิเคราะห์ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์โรคระบาดครั้งนี้ และ มุมที่นักบัญชี
ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ

3.1.ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากโรคระบาด
- ธุรกิจนำเที่ยว
- ธุรกิจโรงแรม ที่พักนักท่องเที่ยว
- ธุรกิจแลกเงินตรา
3.2.ธุรกิจบริการที่ได้รับผลกระทบจากนโยบายการบริหารจัดการโรคระบาดของภาครัฐ
- ฟิตเนส
- สปา ร้านนวด
- โรงหนัง
- ร้านอาหาร ผู้ผลิตและจำหน่ายแอลกอฮอลล์
3.3.ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากอัตราการบริโภคที่ลดลง
- ธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิตบางประเภท
- ธุรกิจก่อสร้าง / อสังหาริมทรัพย์
- ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ปล่อยเช่า
- ธุรกิจการให้สินเชื่อ
- ธุรกิจค้าขายทั่วไปที่ปรับตัวเข้ารูปแบบการขายของออนไลน์
- ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากนโยบายเยียวยาของภาครัฐ
- ธุรกิจโรงแรม
- ธุรกิจที่เข้าร่วมโครงการคนละครึ่ง

4.วิเคราะห์ผลกระทบต่อข้อมูลในงบการเงินที่นักบัญชีต้องพิจารณา
4.1.ด้านสินทรัพย์ที่เป็นตัวเงิน
- เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด VS. เงินยืมกรรมการ
- ลูกหนี้การค้า – ปิดกิจการชั่วคราว ปิดกิจการถาวร
- ลูกหนี้เงินให้กู้ยืม – ความสามารถในการชำระหนี้ เกณฑ์การผ่อนผัน
- เงินลงทุน - ตีราคามูลค่ายุติธรรม เฉพาะเงินลงทุนเพื่อค้า เงินลงทุนอื่นๆ ราคาทุน ตัดจำหน่าย
การทดสอบการด้อยค่า
- สินค้าคงเหลือ – การพิจารณามูลค่า ณ วันสิ้นงวด
- การตั้งค่าสำรองต่าง ๆ
4.2 ด้านสินทรัพย์ที่ไม่เป็นตัวเงิน
- สินทรัพย์ถาวร
- อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
- สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม Capitalised? ROU – Right of Use
- สินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อรอการขาย
4.3 ด้านหนี้สิน
- เงินกู้ยืม – Allocation ระหว่างหนี้สิ้นหมุนเวียน/ไม่หมุนเวียนจากการปรับปรุงข้อตกลงกับ
เจ้าหนี้ การปรับโครงสร้างหนี้ที่จะได้สิทธิประโยชน์ทางภาษี
- ประมาณการหนี้สินต่าง ๆ
4.4 ส่วนทุน
- ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นหากมีผลประกอบการขาดทุนเกินทุน หรือกิจการอาจะมีปัญหาเรื่อง
การดำเนินงานต่อเนื่องในระยะ 12 เดือนข้างหน้านับจากวันรายงาน
4.5 ด้านรายได้
- รายได้จากการขาย / รายได้จากการให้บริการ จะถูก หรือรับรู้รายได้ได้เร็วขึ้นหรือไม่ หรือ
ต้อง Deferred ออกไปสำหรับสินค้า / บริการในระหว่างถูก lock down และ เมื่อหันมา
ขายสินค้าออนไลน์- วิธีการรับรู้รายได้ กรณีเข้าร่วมโครงการสนับสนุนจากทางภาครัฐ เช่น
คนละครึ่ง เราเที่ยวด้วยกัน
- Tax point เมื่อเปลี่ยนมาขาย ออนไลน์ ส่วนลด ของแถม ระบุในใบกำกับภาษีหรือไม่อย่างไร
4.6 ด้านค่าใช้จ่าย
- ค่าใช้จ่ายในการประมาณการจากผลกระทบ สำรองสินค้าล้าสมัย สำรองหนี้สูญ ต้องจัดประเภท
และนำเสนอเป็นค่าใช้จ่ายประเภทใดในงบกำไรขาดทุน
- ประมาณการค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ถาวรที่ใช้ในการผลิต จะยังคง
นำเสนอเป็นต้นทุน หรือ ค่าใช้จ่ายบริหาร
4.7 สิ่งที่ต้องพิจารณาการเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมในงบการเงิน

5.คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
3:0 3:0 3:0 3:0

วิทยากร

อาจารย์วิทยา เอกวิรุฬห์พร
อาจารย์สุรีรัตน์ โชติพันธุ์วิทยากุล

สถานที่

โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ แพลทินัม ประตูน้ำ
220 ถ.เพชรบุรี ราชเทวี กทม.
โทรศัพท์ :
02 160-7100
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba