ปัญหาภาษีและการจัดทำรายงานการตรวจนับสินค้าสิ้นปี การจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ การตีราคาสินค้าคงเหลือ สินค้าขาด-เกินจากบัญชี

รหัสหลักสูตร : 21/1118

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


ปัญหาภาษีและการจัดทำรายงานการตรวจนับสินค้าสิ้นปี
การจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
การตีราคาสินค้าคงเหลือ สินค้าขาด-เกินจากบัญชี

หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.

Promotion พิเศษ!!! เข้าอบรมเดือนธันวาคม 2563

1. รับฟรีทันที!! ปฏิทินตั้งโต๊ะธรรมนิติ 2021
2. พิเศษสุด!!! จองอบรมหลักสูตรเดือน ม.ค-ก.พ 64 ภายในวันที่ 31 ธ.ค 63
     -  ลดทันที 500 บาททุกที่นั่ง 
     - เลือกรับของสมนาคุณเพิ่ม เมื่อจองอบรมหน้างานสัมมนาภายในวันที่ 31 ธ.ค. 63
      
** สำหรับหลักสูตร 3,900 บาทขึ้นไป (ยังไม่รวม VAT)**

• เตรียมรับมือกับการคำนวณราคาสินค้าคงเหลือเพื่อยกไปรอบบัญชีใหม่
• มีสินค้าทั้งขาดและเกินจะขอหักกลบลบกันได้หรือไม่
• การนำสินค้าไปส่งเสริมการขาย สินค้าตัวอย่างตัด STOCK อย่างไร
• สินค้าฝากขายต้องทำ STOCK หรือไม่ใครเป็นผู้ทำ
 
วิทยากรโดย อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์

หัวข้อสัมมนา

1. การวางระบบตรวจนับสินค้าสิ้นไป การบันทึกรายการในรายงานสินค้าและวัตถุดิบที่ถูกต้อง

2. การจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ตามหลักภาษีอากร
• "สถานประกอบการ" ที่กฎหมายบังคับต้องทำ Stock Card
•สาขา, ตัวแทน
•สินค้าฝากขาย
• กรณีฝากสินค้าไว้กับลูกค้าต้องทำรายงานสินค้าหรือไม่
• ถ้าสาขาขาย แต่ให้ไปรับของที่สำนักงานใหญ่ สาขาต้องทำ Stock หรือไม่
• บุคคลธรรมดา, Dealer ที่รับประกันสินค้าจะต้องทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบและรายงานสินค้าคงเหลือหรือไม่

3."หน่วย" ในการจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาสินค้าเกิน หรือขาด
• รับเข้าเป็นกิโลกรัม ตัดออกจาก Stock เป็นชิ้น
• หน่วยในการรับเข้า-ตัดออก จำเป็นหรือไม่ที่ต้องเหมือนกัน

4. ปัญหาทางด้านภาษีที่ผู้ประกอบการประสบมากในการตรวจนับสินค้าสิ้นปี
• การจัดทำ Stock Card กลางและ Stock Card ย่อเอกสารในการตัด Stock ต้องใช้ใบกำกับภาษีหรือไม่
• การตัดยอดสินค้าออกจาก Stock Card อย่างไรจึงจะถูกต้องตามกฎหมาย
• สินค้าที่คู่ค้าแถมมาให้ต้องบันทึกลงใน Stock ด้วยหรือไม่ และต้นทุนของสินค้าทั้งหมดคิดอย่างไร
• สินค้าชนิดเดียวกัน แต่ราคาต่างกัน จะทำ Stock รวมกันได้หรือไม่
• ข้อกำหนดในการตีความว่าสินค้าที่เสียหายนั้นควรเป็นต้นทุนของสินค้าหรือผลเสียของสินค้า
• การคำนวณสินค้าคงเหลือ เมื่อสิ้นงวดบัญชีจะคำนวณตามราคาทุนหรือราคาตลาด

5. การคำนวณราคาทุนของสินค้า
• สินค้าข้ามรอบ
• สินค้านำเข้าจากต่างประเทศ
• ราคาทุนของสินค้าที่เป็นเงินตราต่างประเทศ

6. การจัดทำรายงานสินค้าและวัตุถุดิบของกิจการที่ขายตลอด 24 ชั่วโมง

7. ข้อแตกต่างในการจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบของบุคคลธรรมดากับนิติบุคคล

8. สถานประกอบการที่เป็นรถเข็น แผงลอย หน่วยขายที่มีลักษณะเป็นร้านค้าย่อยจะมีวิธีการตรวจ
นับสินค้ารวมถึงการลงรายการในรายงานสินค้าและวัตถุดิบอย่างไร

9. เอกสารหลักฐานที่ใช้ในการเบิกสินค้า และตัด Stock Card เพื่อให้สรรพากรยอมรับ
• การนำสินค้าไปใช้ในกิจการ การนำสินค้ามาให้ลูกค้าทดลองใช้ (DEMO)จะตัด stock อย่างไร

10. การทำลายสินค้า สินค้าเสื่อมคุณภาพ สินค้ามีตำหนิ หมดอายุ หมดสมัยนิยมและเศษซาก
ในกรณีต่างๆ

• ผู้สอบบัญชีมีความรับผิดร่วมอย่างไรตามหลักเกณฑ์ของสรรพากร
• ทำลายสินค้าแล้วจะใช้เอกสารใดในการลงบัญชี ต้องเสียภาษีขายหรือไม่
• การขายสินค้าที่หมดสมัยนิยม ในราคาต่ำกว่าทุนต้องปฏิบัติอย่างไร และต้องเสีย VAT หรือไม่

11. กรณีผลิตสินค้าแล้วมีส่วนสูญเสีย ระเหิด ระเหยหรือสินค้าหายจะต้องทำรายงานอย่างไร
ให้สรรพากรยอมรับ

12. การซื้อสินค้ามาทำการส่งเสริมการขาย ลด แลก แจก แถม ให้เป็นรางวัลบริจาค และการส่ง
สินค้าตัวอย่างไปให้ลูกค้าในประเทศและต่างประเทศต้องทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบด้วยหรือไม่
เป็นรายจ่ายที่ต้องบวกกลับหรือไม่ และกรณีเบิกแจกลูกค้าต้องใช้เอกสารใดลงรายงาน

• สินค้าตัวอย่างทั้งในไทยและต่างประเทศ
• สินค้าสำหรับ แจก แถม - สินค้าทดลองใช้
• สินค้าตั้งโชว์
• สินค้าที่ได้รับจากการแถม, ของขวัญ ของรางวัล

13. กรณีที่บริษัทได้ของขวัญจากบริษัทอื่นและต่อมาบริษัทได้ให้ของขวัญนั้นกับพนักงานหรือลูกค้า
บริษัทต้องลงรายงานสินค้าและรับรู้รายได้หรือไม่

14. การจัดระบบควบคุมภายในเพื่อการตรวจนับที่ถูกต้อง

15. การเข้าตรวจสินค้าและวัตถุดิบของสรรพากร
• ธุรกิจที่อยู่ในข่ายต้องถูกตรวจสอบ
• การสุ่มตรวจสินค้า
• การหมุนเวียนของสินค้าและวัตถุดิบ
• การตรวจสอบการควบคุมภายใน การเบิก-จ่าย การสั่งซื้อ
• การตรวจสอบวัตถุดิบกับสินค้าสำเร็จรูปว่าเป็นจริงเพียงใด

16. วิธีการแก้ไขและหลักเกณฑ์ในการขอลดเบี้ยปรับ-เงินเพิ่ม
• สินค้าขาดหรือเกินจากรายงาน
• ไม่จัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ
• เบี้ยปรับ-เงินเพิ่มเริ่มคิดเมื่อไร (เริ่มนับ stock หรือนับ stock เสร็จ)
• การเก็บรายงานสินค้าและวัตถุดิบต้องเก็บไว้กี่ปี และเมื่อทำลายต้องแจ้งสรรพากรหรือไม่
• อายุความในการประเมินเกี่ยวกับการจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบมีอายุความกี่ปี

17. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์รุ่งทิพย์ ธัญวงษ์

สถานที่

โรงแรมสวิสโฮเต็ล กรุงเทพฯ รัชดา
204 รัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทรศัพท์ :
02-694-2222
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง ทางออกที่ 2


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba