ความเหมือนและความแตกต่าง หลักบัญชีกับหลักภาษีที่กระทบกับ TFRS ใหม่

รหัสหลักสูตร : 21/2315

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,815 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,564 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


ความเหมือนและความแตกต่าง
หลักบัญชีกับหลักภาษีที่กระทบกับ TFRS ใหม่


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี บัญชี รอ ชม. อื่นๆ รอ ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี รอ ชม. อื่นๆ รอ ชม.

 

วิทยากรโดย ดร.วรกร แช่มเมืองปัก

หัวข้อสัมมนา

**หลักการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับรายได้
1. Five step model ตัวแบบ 5 ขั้นตอนกับวิธีรับรู้รายได้ตาม TFRS 15
2. การระบุสัญญาที่ทำกับลูกค้า
3. รูปแบบสัญญา เช่น ลายลักษณ์อักษร ด้วยวาจา หรือประพฤติปฏิบัติ ทางธุรกรรม
4. เนื้อหาเชิงพาณิชย์ VS ไม่เชิงพาณิชย์วิธีคิดของบัญชี
5. การระบุภาระที่กิจการควรปฏิบัติตามสัญญา
6. ภาระที่ต้องโอนสินค้า หรือ บริการ
7. หนังสือสัญญาหลายภาระจะจัดการอย่างไรให้ถูกต้อง
8. การรับรู้รายได้เมื่อกิจการได้ปฏิบัติตามภาระแล้วเสร็จ
9. การประมาณการราคาของรายการที่มีลักษณะแปรผันเช่น Volume Discount 2 วิธี
10. การปันส่วนราคาของรายการให้แต่ละภาระที่ต้องปฏิบัติตามสัญญา
**หลักการด้านภาษีที่เกี่ยวข้อง ความเหมือนหรือความแตกต่างด้านบัญชี
11. ภาระที่แยกได้ VS แยกไม่ได้ บัญชี VS สรรพากร
12. การกำหนดราคาของรายการ
13. สิ่งตอบแทนที่กิจการจะได้รับหรือมีสิทธิได้รับกับวิธีคิดของสรรพากร
14. องค์ประกอบของการจัดหาเงิน รวมได้หรือไม่สรรพากรมองอย่างไร
15. ราคาขายของแบบเอกเทศ (Stand – alone selling price) กับมุมมองของสรรพากร
16. การควบคุมในสินค้าหรือบริการได้โอนไปยังลูกค้ากับการยอมรับของสรรพากร
17. รับรู้รายได้ตามรูปแบบของความสำเร็จของภาระที่ต้องปฏิบัติ สรรพากรให้ทำ ได้หรือไม่อย่างไร
18. ประเภทสัญญาเช่าของสรรพากร อดีต ปัจจุบันและอนาคต
19. สัญญาเช่าหรือมีสัญญาเช่าเป็นส่วนประกอบกับมุมมองของสรรพากร
20. ระบุสัญญาเช่าอย่างไรให้ถูกใจสรรพากร
21. สิทธิและภาระผูกพันในการทดแทนสินทรัพย์สรรพากรวัดอย่างไร
22. สิทธิที่จะควบคุมการใช้สินทรัพย์ที่ระบุได้ทำได้หรือไม่ในมุมมอง ของสรรพากร
23. อายุสัญญาเช่ากับประเด็นของสรรพากร
24. ผู้เช่ากับผู้ให้เช่า บันทึกบัญชีต่างกันกับการยอมรับของสรรพากร
25. ประเภทเครื่องมือทางการเงินในมุมมองของ
ประมวลรัษฎากร เพื่อค้า VS เพื่อขาย
ตราสารหนี้ VS ตราสารทุน
มูลค่ายุติธรรม (Fair Value) VS มูลค่าที่จะได้รับ(Net Realizable Value)
ราคาตลาด (Market Price) กับ มุมมองของสรรพากร
26. การรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่า (Impairment) ของเครื่องมือทางการเงินกับการยอมรับของสรรพากร
27. การบัญชีป้องกันความเสี่ยง (Hedge Accounting) ภาษีมีวิธีมอง อย่างไร
28. สินทรัพย์ทางการเงินและหนี้สินทางการเงิน : บัญชี VS ภาษี
29. ราคาทุนตัดจำหน่าย (Amortized Cost) สรรพากรรับได้หรือไม่อย่างไร
30. ประเด็นด้านภาษีสรรพากรอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับ TFRS 9,TFRS 15 และ TFRS 16
31. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
3:0 3:0 3:0 3:0

วิทยากร

ดร.วรกร แช่มเมืองปัก

สถานที่

โรงแรมสวิสโฮเต็ล กรุงเทพฯ รัชดา
204 รัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทรศัพท์ :
02-694-2222
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT สถานีห้วยขวาง ทางออกที่ 2


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba