สิทธิประโยชน์ภายใต้ FTA และกฎแหล่งกำเนิดสินค้า (FTA and Rules of Origin Strategies) 2019

รหัสหลักสูตร : 21/8621

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,173 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,922 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


สิทธิประโยชน์ภายใต้ FTA และกฎแหล่งกำเนิดสินค้า
(FTA and Rules of Origin Strategies) 2019


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี อื่นๆ 6 ชม.
ผู้สอบบัญชี อื่นๆ 6 ชม.

 

วิทยากรโดย อาจารย์เจนฤทธิ์ สระวาสี

หัวข้อสัมมนา

1. การเปรียบเทียบ 10 เขตการค้าเสรีของประเทศไทยที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
- ATIGA (AFTA เดิม)
- ACFTA
- AJCEP
- AKFTA
- AANZFTA
- TAFTA
- NZTCEPA
- ITFTA
- JTEPA
- ITFTA

2. Update การเปลี่ยนแปลงล่าสุดสำหรับ “ความตกลงการค้าเสรี ASEAN-China FTA หรือ ACFTA”
- การซื้อขายผ่านประเทศที่สามภายใต้เงื่อนไข Third Party(Country) Invoicing
- การส่งออกผ่าน Agent ในจีน กับ Form E ปลอม
- กรณี Movement Certificate, Through Bill of Lading
- ความแตกต่างในเรื่องพิกัดอัตราศุลกากรที่ระบุใน Form E
- ประโยชน์ที่จะได้รับจากการตรวจปล่อยสินค้าที่มีการขอสิทธิพิเศษทางภาษี

3. สิทธิประโยชน์และผลกระทบของการทำ FTA

4. กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าภายใต้ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน (ATIGA Rules of Origin)

- การปฏิบัติพิธีการศุลกากรนำเข้า กรณี Back-to-Back Form D
- ข้อยกเว้นในเรื่องเกณฑ์ขั้นต่ำ DE MINIMIS
- กรณีกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าเฉพาะรายสินค้าฉบับทบทวน (Revised PSR)
- การคำนวณสัดส่วนต้นทุนมูลค่าการผลิตในประเทศภาคี (Regional Value Content)
- การสะสมแหล่งกำเนิดสินค้าแบบบางส่วน (Partial Cumulative)
- การส่งผ่านประเทศนอกภาคีอาเซียน (สามารถทำได้หรือไม่? อย่างไร?)

5. Update 2018 กรอบสินค้าและกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าภายใต้ความตกลงอื่น ๆ
- AJCEP, AKFTA, AANZFTA, TAFTA, NZTCEP, ITFTA,JTEPA และ ITFTA

6. การระบุวิธีการดำเนินการเพื่อให้ศุลกากรสามารถตรวจสินค้าได้โดยสะดวกมากขึ้นในกรณีมีความแตกต่าง
กันเพียงเล็กน้อย

- พิกัดอัตราศุลกากร แต่ไม่กระทบต่อค่าอากรและกฎเเหล่งกำเนิดสินค้า

7. Update ระบบการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเอง(Self-Certification System: SC) ของผู้ส่งออก
ที่มีสิทธิรับรองตนเอง

8. กลยุทธ์การเลือกใช้สิทธิประโยชน์ตามกฎแหล่งกำเนิดสินค้าเพื่อเชื่อมโยงกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
ประเภทอื่นๆได้แก่ Free Zone, BOI และ Bonded Warehouse

9. การขอสงวนสิทธิ์การขอคืนอากร กรณีไม่สามารถนำ Form เพื่อใช้สิทธิ FTA มาแสดงต่อศุลกากรได้
ทันขณะที่นำเข้า

10. การบริหารความเสี่ยงกรณีการวางประกัน เช่น กรณีพิกัดต่างทำให้อากรแตกต่างกันภายใต้
FTA ประเภทต่าง ๆ

11. การใช้พิกัดอัตราศุลกากรระบบ AHTN 2017 ใน Form ประเภทต่าง ๆ

12. ประเด็นพิธีการศุลกากรอื่น ๆ ที่ผู้ประกอบการมักกระทำผิดเกี่ยวกับกฎแหล่งกำเนิดสินค้า
พร้อมแนวทางแก้ไข

13. การวางแผนการใช้บริการวินิจฉัยถิ่นกำเนิดสินค้าล่วงหน้า (Advanced Rules of Origin Ruling)
และประเด็นความเสี่ยงที่พึงระวัง

14. แนวทางการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย(Customs Post Audit)

- ประเด็นกฎแหล่งกำเนิดสินค้าและใบรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า (C/O) ของผู้ประกอบการ
- ประเด็นที่ผู้ประกอบการมักปฏิบัติผิดพลาดเกี่ยวกับForm ประเภทต่าง ๆ
- ความเสี่ยงและเบี้ยปรับจากการถูก Post Audit
- เทคนิคการเอาตัวรอดจากการถูกตรวจสอบ
- ข้อแนะนำในการจัดเก็บข้อมูลเพื่อรับการตรวจสอบ
- ประเด็นสินค้าอ่อนไหว (Sensitive List) และสินค้ายกเว้น (Exclusion List) กับประเด็นการถูกตรวจสอบ


นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์เจนฤทธิ์ สระวาสี

สถานที่

โรงแรมดุสิตปริ๊นเซส ศรีนครินทร์
53 Srinakarin Road, Nongbon, Pravet Bangkok, Nong Bon, Prawet, Bangkok 10250
โทรศัพท์ :
02 721 8400
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า MRT สถานีสวนหลวง ร.9 ทางออกที่ 1 (ห่างจากสถานี 300 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba