เทคนิคการจัดทำเอกสารของบัญชี การเงิน จุดบอดทางภาษีที่เจ้าหน้าที่บัญชี การเงิน แคชเชียร์ต้องระวังและให้สรรพากรยอมรับ (จ.ชลบุรี)

รหัสหลักสูตร : 21/17025

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

เทคนิคการจัดทำเอกสารของบัญชี การเงิน จุดบอดทางภาษีที่เจ้าหน้าที่บัญชี การเงิน แคชเชียร์ต้องระวังและให้สรรพากรยอมรับ

  • ระบบ e-Tax Invoice และ e-Receipt ปัญหาใหม่ของเจ้าหน้าที่การเงิน และแคชเชียร์
  • เทคนิคการเตรียมรับมือกับระบบ National e-Payment ที่เจ้าหน้าที่การเงิน แคชเชียร์ต้องพร้อมรับมือ!!!
  • การแก้ไขปัญหาเอกสารทางบัญชี การเงิน แคชเชียร์ หลักสูตรนี้มีทางออกให้
  • บทสรุปการออกและรับใบกำกับภาษี ตามหลักเกณฑ์ของสรรพากร
  • ปัญหาที่เกี่ยวกับการหักภาษี ณ ที่จ่าย สำหรับเจ้าหน้าที่การเงิน แคชเชียร์ต้องระวัง

หัวข้อสัมมนา

เทคนิคการจัดทําเอกสารของบัญชีการเงิน

1. การจัดระบบเอกสารงานการเงิน เจ้าหน้าที่บัญชี-การเงิน แคชเชียร์
2. เอกสารที่ใช้ประกอบการบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีและภาษีอากรต้อง
ระมัดระวังอะไรบ้าง
  • มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 เรื่อง รายได้จากสัญญาที่ทำกับลูกค้ากับผลกระทบในการจัดทำเอกสารที่ต้องปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ใหม่
3. การจัดทำระบบและรูปแบบรายงานทางการเงินให้มีประสิทธิภาพ
3.1 ใบกำกับภาษี
  • หลักเกณฑ์ในการออก และข้อความที่ต้องปรากฎในใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป
  • หลักเกณฑ์ในการออก และข้อความที่ต้องปรากฏในใบกำกับภาษีอย่างย่อ
  • แบบฟอร์มใบกำกับภาษีมีกี่ประเภทและการลงรายการในใบกำกับภาษีทำได้ด้วยวิธีไหนบ้าง
  • พิจารณาอย่างไรว่า ใบกำกับภาษีขอคืนภาษีซื้อได้
  • การกรอกข้อความใบกำกับภาษีด้วยวิธีเขียนมือ ประทับตรายาง พิมพ์ดีดและคอมพิวเตอร์สามารถทำรวมกันในใบกำกับภาษีใบเดียวได้หรือไม่
  • อย่างไรถือเป็นใบกำกับภาษีออกเป็นชุด และต้องมีข้อความใดบ้าง
  • ใบกำกับภาษีอย่างย่อ ขอภาษีซื้อคืนได้หรือไม่ หากเป็นกระดาษความร้อนจะถือเป็นหลักฐานการบันทึกบัญชีได้หรือไม่ จะแก้ไขอย่างไร
  • ใบกำกับภาษีจำเป็นต้องมีลายเซ็นหรือไม่??? หากไม่มีลายเซ็นขอภาษีซื้อคืนได้หรือไม่
  • คำว่า “สำนักงานใหญ่หรือสาขา” ต้องจัดทำด้วยวิธีใด ใช้ตัวเลข หรือตัวย่อแทนได้หรือไม่
  • หลักเกณฑ์การปรับเศษทศนิยมในการออกใบกำกับภาษีให้ถูกต้อง
  • หลักเกณฑ์การยกเลิกใบกำกับภาษีแล้วออกใหม่ และการออกใบแทนใบกำกับภาษี
3.2 ใบรับในทางภาษีอากร
  • ใบรับในทางภาษีอากรหมายถึงเอกสารใดบ้าง และจะต้องมีข้อความอะไรบ้างบนใบรับ
  • ใบรับเงินออกอย่างไรจึงจะสมบูรณ์ ไม่ออกได้หรือไม่
  • ต้องจ่ายกี่บาทถึงจะต้องออกใบรับเงิน หากลูกค้าร้องขอจะต้องออกทุกครั้งหรือไม่
3.3 ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้
  • หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการออกใบเพิ่มหนี้, ใบลดหนี้
3.4 ใบส่งของ
  • ใบส่งของจะต้องออกทุกกิจการหรือไม่ มีข้อยกเว้นหรือไม่ที่ไม่ต้องออก
3.5 ใบแจ้งหนี้
  • เงื่อนไข และหลักเกณฑ์ในการออกใบแจ้งหนี้ และต้องออกให้กับลูกค้าทุกครั้งหรือไม่
3.6 ใบแทน
  • หลักเกณฑ์การออกใบแทนใบกำกับภาษี, ใบแทนใบเพิ่มหนี้,ใบแทนใบลดหนี้
3.7 รายงานของฝ่ายการเงิน
  • รายงานการรับเงินและจ่ายเงิน
  • รายงานเช็ครับล่วงหน้า เช็คคืน เช็คจ่ายล่วงหน้า
  • รายงานการรับวางบิล การออกใบแจ้งหนี้
  • รายงานรายจ่ายต้องห้าม รายงานภาษีซื้อต้องห้าม
4. การวางระบบการรับ-จ่ายเงิน เจ้าหน้าที่บัญชี-การเงิน แคชเชียร์
  • กิจการขายสินค้า และ ให้บริการ ควรออกแบบเอกสารอย่างไรให้สอดคล้องกับภาษีอากร
  • การวางระบบเอกสารรายรับ และเอกสารรายจ่ายทำอย่างไรจึงจะลดข้อผิดพลาด
  • เอกสารายรับและเอกสารรายจ่ายอย่างน้อยจะต้องมีเอกสารอะไรบ้างจึงจะถูกต้อง
  • การขายสด / ขายปลีก จะต้องระมัดระวังอะไรบ้าง
  • การขายเชื่อ / การขายผ่านระบบ On-line, QR Code จะออกใบกำกับภาษีเมื่อใด
  • รายรับจากการชำระหนี้จากลูกหนี้ จากระยะเวลาการให้เครดิตต้องกำหนดอย่างไร
  • การรับชำระเงินผ่านทางไปรษณีย์, ธนาณัติ, เช็ค, บัตรเครดิต, Pay-In ,โอนเงิน ON- LINE ,PROMPTPAY, QR Code
  • ลูกค้าโอนเงินมาชำระค่าสินค้าหรือบริการ แต่ไม่ได้แจ้งให้กิจการทราบจะต้องปฏิบัติอย่างไร
  • ข้อความที่ควรมีในใบสำคัญรับ-จ่ายของกิจการ และกิจการสามารถดัดแปลง ให้เป็นใบรับหรือจ่ายเงินได้หรือไม่
  • การควบคุมภายในเกี่ยวกับ การรับ- จ่ายเงิน ที่ต้องระมัดระวัง
5. การพิจารณาและแก้ไขปัญหาเอกสารทางบัญชีการเงิน แคชเชียร์
  • เอกสารรายรับ - เอกสารรายจ่าย
  • ลงเลขที่ใบสำคัญจ่ายอย่างไรให้สามารถแทรกเอกสารระหว่างเดือนได้
  • ใบสำคัญจ่ายลูกค้าจำเป็นต้องเซ็นไหม
  • ใบกำกับภาษี - ใบแจ้งหนี้
  • ใบรับวางบิล - ใบกำกับภาษีปลอมจะตรวจสอบได้อย่างไร
  • ความผิดพลาดที่มักเกิดขึ้นบ่อย ๆ และต้องระมัดระวังในการออกใบกำกับภาษี เช่น การขีดฆ่าแก้ไข ชื่อ-ที่อยู่ผู้ซื้อเขียนไม่ครบไม่มีคำว่า “สำนักงานใหญ่หรือสาขา”
6. รู้ทันการใช้เช็คสำหรับเจ้าหน้าที่การเงินและแคชเชียร์
  • ข้อควรระวังในการจ่ายเช็ค การโอนเงิน On-line , QR Code
  • ข้อควรระวังในการรับเช็ค การโอนเงิน On-line , QR Code
  • Update!! การสั่งจ่าย ขีดฆ่า แก้ไข และเก็บรักษาเช็ค ที่มีผลกระทบต่อเจ้าหน้าที่การเงินและแคชเชียร์ เริ่มใช้ 1 กุมภาพันธ์ 2562 (ทุกธนาคาร)
7. เทคนิคการเตรียมรับมือกับระบบ National e-Paymentที่เจ้าหน้าที่บัญชี การเงิน แคชเชียร์ต้องพร้อมรับมือ
  • การชำระเงินด้วยระบบ PromptPay, QR Code ขจัดการจ่ายเงินด้วยเงินสดและยังสามารถป้องกันการทุจริตในองค์กรได้อีกด้วย
  • e-witholding Tax ทางเลือกใหม่ในการบริหารการชำระเงินและเอกสารภาษีจากสรรพากร
  • ระบบ e-Tax Invoice และ e-Receipt เรื่องใหม่ที่เจ้าหน้าที่การเงินแคชเชียร์ต้องรู้
8. Update!!! หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการตรวจสอบ
“ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ” ของกรมสรรพากร
  • หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการนำส่งข้อมูลธุรกรรมทางการเงินให้กับกรมสรรพากร
  • ใครมีหน้าที่ต้องนำส่งข้อมูลธุรกรรมลักษณะเฉพาะ
  • ประเภทและเงื่อนไขของข้อมูลทางการเงินที่จะถูกตรวจสอบ
  • ข้อมูลอะไรบ้างที่สรรพากรจะได้รับ และการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
  • มีผลบังคับใช้กับใครบ้าง
  • ปีภาษีที่มีการเก็บข้อมูลธุรกรรมลักษณะเฉพาะ และปีที่เริ่มนำส่งข้อมูลให้กับกรมสรรพากร
  • การวางแผนทำธุรกรรมทางการเงินก่อนที่กฎหมายมีผลบังคับใช้

จุดบอดทางภาษี ที่เจ้าหน้าที่การเงิน แคชเชียร์ต้องระวังและให้สรรพากรยอมรับ

1. ปัญหาเกี่ยวกับเอกสารรายจ่าย เจ้าหน้าที่บัญชี-การเงิน แคชเชียร์
  • วิธีพิจารณาเอกสารรายจ่ายอย่างไรจึงจะถือเป็นรายจ่ายได้
  • ผลของรายจ่ายที่พิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ
  • 3 ข้อที่ต้องจำ เพื่อจบปัญหารายจ่ายที่พิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ
  • รายจ่ายที่ผู้รับไม่ออกหลักฐานให้ต้องปฏิบัติอย่างไร
  • มีใบรับเงินกับสำเนาบัตรประชาชนของผู้รับเงิน เสี่ยง!! ถูกสรรรพากรประเมิน
  • เผยเทคนิคเด็ด ให้การจ่ายเงินที่ผู้รับไม่ออกหลักฐานให้สามารถลงเป็นรายจ่ายได้
  • หากผู้รับเงินไม่ออกหลักฐานการรับเงินให้ และไม่มีบัตรประชาชนจะต้องปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้อง
  • รายจ่ายค่าพาหนะ ค่านํ้ามันรถ ค่าเบี้ยเลี้ยง ต้องมีบิลทุกครั้งหรือไม่หากไม่มีต้องปฏิบัติอย่างไร
2. ปัญหาเกี่ยวกับใบกำกับภาษีที่มักพบบ่อยสำหรับเจ้าหน้าที่บัญชี-การเงินแคชเชียร์
  • การออกและรับใบกำกับภาษีตามหลักเกณฑ์กรมสรรพากร
  • ผู้มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษีเป็นใคร และหากขายสินค้าหรือให้บริการไม่ออกใบกำกับภาษีได้หรือไม่ กำหนดจำนวนเงินในการออกใบกำกับภาษีหรือไม่
  • รายการในใบกำกับภาษีต้องมีอะไรบ้าง หากมีครบถ้วนมีความผิดหรือไม่
  • การออกใบกำกับภาษีเต็มรูป, ใบกำกับภาษีอย่างย่อ ความผิดพลาดที่ต้องระมัดระวัง
  • การขายสินค้าหรือให้บริการรายย่อยต้องออกใบกำกับภาษีหรือไม่
  • ปัญหาใบกำกับภาษีสูญหาย, ถูกทำลาย, ชำรุด ต้องปฏิบัติอย่างไร
  • ใบกำกับภาษีไม่มีลายเซ็นผู้รับเงิน มีข้อความไม่ครบขอคืนได้หรือไม่ถือเป็นค่าใช้จ่ายหรือค่าใช้จ่ายต้องห้าม
  • หลักในการพิจารณาใบกำกับภาษีซื้ออย่างไรจึงจะขอคืนหรือเครดิตภาษีขายได้
  • ภาษีซื้อต้องห้ามเป็นอย่างไร ต้องระมัดระวังอะไรบ้าง
3. ปัญหาที่เกี่ยวกับการหักภาษี ณ ที่จ่าย สำหรับเจ้าหน้าที่การเงิน แคชเชียร์ต้องระวัง
  • หลักเกณฑ์การหักภาษี ณ ที่จ่ายที่เจ้าหน้าที่การเงินต้องระมัดระวัง
  • หลักเกณฑ์ในการหักภาษี ณ ที่จ่ายก่อนจ่ายเงิน
  • ข้อยกเว้นไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายมีอะไรบ้าง
  • อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย
  • ปัญหาการหักภาษี ณ ที่จ่ายที่พบมากจากการทำงาน เช่น การรับจ้างทำของการขนส่ง การให้บริการ
  • วิธีแก้ปัญหาเมื่อผู้รับเงินไม่ยอมให้หักภาษี ณ ที่จ่าย
  • การออกหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร

สถานที่

Hotel Baraquda Pattaya, MGallery By Sofitel
โรงแรมบาราคูด้า พัทยา เอ็มแกลเลอรี่ บายโซฟิเทล
485/1 ม.10 ถนนพัทยาสายสอง ต.หนองปรือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20150

เว็บไซต์ http://hotelbaraquda.com/th/
โทรศัพท์ :
038 769 999
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba