การยกเว้นเบี้ยปรับ เงินเพิ่มตามพระราชบัญญัติฉบับใหม่ การบันทึกและปรับปรุงบัญชีเพื่อเสียภาษีให้ถูกต้องและได้ประโยชน์สูงสุด (หลักสูตรใหม่ปี 2562)

รหัสหลักสูตร : 21/1900

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


การยกเว้นเบี้ยปรับ เงินเพิ่มตามพระราชบัญญัติฉบับใหม่
การบันทึกและปรับปรุงบัญชีเพื่อเสียภาษีให้ถูกต้องและได้ประโยชน์สูงสุด


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline

 

• วิธีการตรวจสอบของสรรพากร ตรวจสอบบัญชีกิจการที่่ใช้สิทธิยกเว้นเบี้ยปรับ เงินเพิ่มภาษีอากรและความรับผิด
ทางอาญา
• การแสดงข้อมูลทางบัญชีสูงหรือต่ำกว่าความเป็นจริงจะบันทึกบัญชีและปรับปรุงทางภาษีอย่างไร

 

วิทยากรโดย อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร

หัวข้อสัมมนา

1. ภาระภาษีอากรที่นิติบุคคลต้องเสียและประเด็นผิดพลาดคลาดเคลื่อน

2. ปัญหาในการยื่นแบบภาษีอากรประเภทต่างๆ
- ภาษีเงินได้นิติบุคคล
- ภาษีมูลค่าเพิ่ม
- ภาษีธุรกิจเฉพาะ
- ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
- อากรแสตมป์

3. การยกเว้นเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และความรับผิดทางอาญามีระยะเวลาอย่างไร

4. ใครบ้างที่ได้รับสิทธิการยกเว้นเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และความรับผิดทางอาญา

5. รายได้ทางภาษีไม่เกิน 500 ล้านบาทหมายความอย่างไร

6. การลงทะเบียนแจ้งใช้สิทธิยกเว้นเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และความรับผิดทางอาญา

7. มีสิทธิประโยชน์หลังลงทะเบียนแจ้งใช้สิทธิทางภาษีอะไรบ้าง

8. ระยะเวลาในการใช้สิทธิของภาษีแต่ละประเภทมีอย่างไร

9. เมื่อนิติบุคคลใช้สิทธิยกเว้นเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และความรับผิดทางอาญาแล้วจะได้รับยกเว้นไม่ตรวจสอบภาษี
ย้อนหลังหรือไม่

10. เมื่อนิติบุคคลใช้สิทธิฯ จะต้องบันทึกปรับปรุงบัญชีให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีอย่างไรให้สอดคล้องกับ
การยกเว้นเบี้ยปรับ เงินเพิ่มภาษีอากรและความรับผิดทางอาญา

11. ประเภทของบัญชีที่กิจการจะต้องปรับปรุงที่มีผลกระทบต่อการยกเว้นเบี้ยปรับ เงินเพิ่มและความรับผิด
ทางอาญามีอะไรบ้าง

12. ปัญหาของเงินสดและเงินฝากธนาคารในบัญชีมีมากกว่าหรือต่ำกว่าข้อเท็จจริงจะบันทึกบัญชีและปรับปรุงทาง
ภาษีอย่างไร
- มีการนำเงินยืมเงินของกิจการ
- ไม่ได้นำเงินมาลงทุนในกิจการจริง
- ไม่ได้มีการรับรู้เงินฝากธนาคารตามข้อเท็จจริง

13. ลูกหนี้การค้าในบัญชีแสดงไว้สูงเกินหรือต่ำกว่าความเป็นจริง จะบันทึกบัญชีและปรับปรุงทางภาษีอย่างไร
- การตัดหนี้สูญและการตั้งค่าเผื่อไม่ตรงตามข้อเท็จจริง
- แสดงลูกหนี้สูงหรือต่ำกว่าข้อเท็จจริง
- ลูกหนี้ไม่มีตัวตนหรือลูกหนี้ติดลบ

14. สินค้าคงเหลือในบัญชีแสดงไว้สูงหรือต่ำกว่าความเป็นจริง จะบันทึกบัญชีและปรับปรุงทางภาษีอย่างไร
- รับรู้รายได้จากการขายสินค้าไม่ตรงข้อเท็จจริง
- ซื้อสินค้าหรือขายสินค้า แต่บันทึกสต๊อกไม่ตรงข้อเท็จจริง
- การจัดทำรายงานภาษีขาย ภาษีซื้อ และรายงานสินค้าวัตถุดิบผิดข้อเท็จจริง
- บันทึกรายได้แต่ไม่ได้ตัดสต๊อกออก
- สินค้าขาดหรือเกินจากสต๊อก
- สินค้าสูญหาย เสียหาย ชำรุด ล้าสมัย
- สินค้าแจ้งทำลายแต่ไม่ได้ทำลายจริง

15.ปัญหาการบันทึกบัญชีลูกหนี้เงินยืมกรรมการหรือผู้เป็นหุ้นส่วนที่แสดงไว้สูงหรือต่ำกว่าข้อเท็จจริง
- ไม่ได้บันทึกบัญชี
- บันทึกบัญชีแต่ไม่มีการชำระภาษี
- ไม่ได้คำนวณดอกเบี้ยเงินยืม และไม่ได้เสียภาษีที่เกี่ยวข้อง

16.สินทรัพย์ที่บันทึกไว้ในบัญชีสูงเกินหรือต่ำกว่าความเป็นจริง จะบันทึกบัญชีและปรับปรุงทางภาษีอย่างไร
- บันทึกมูลค่าสูงหรือต่ำกว่าข้อเท็จจริง
- ไม่รับรู้เป็นสินทรัพย์ แต่รับรู้เป็นค่าใช้จ่าย
- สินทรัพย์ไม่มีในกิจการ แต่ทางบัญชียังแสดงไว้ในทะเบียนสินทรัพย์
- สินทรัพย์เหลือ 1 บาท ได้ตัดออกจากบัญชี

17.เจ้าหนี้การค้าแสดงไว้ในบัญชีสูงกว่าหรือต่ำกว่าความเป็นจริง จะบันทึกบัญชีและปรับปรุงทางภาษีอย่างไร
- ไม่ได้ตัดบัญชีออก เมื่อมีการชำระหนี้แล้ว
-เจ้าหนี้ไม่มีตัวตน
- เจ้าหนี้เงินยืมหรือเงินกู้จากกรรมการสูงหรือต่ำกว่าข้อเท็จจริง

18.ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายแสดงไว้ในบัญชีสูงหรือต่ำกว่าความเป็นจริง จะบันทึกบัญชีและปรับปรุงทางภาษีอย่างไร
- ไม่ได้ตั้งค้างจ่าย
- ตั้งค้างจ่ายแต่ไม่ตรงกับข้อเท็จจริง

19.ปัญหาการบันทึกบัญชีส่วนของผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วน
- ทุน
- ขาดทุนสะสม เกินทุน
- เงินปันผล

20.ปัญหาการบันทึกบัญชีที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีผลต่อการยกเว้นเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม
ภาษีอากรและความรับผิดทางอาญาในทางภาษีอากร
- รายได้ที่บันทึกไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง
- รายจ่ายที่บันทึกขาดหรือเกิน
- สัญญาเช่าทางการเงินกับสัญญาเช่าดำเนินงาน
- สัญญาเช่าซื้อกับประเด็นดอกเบี้ยรอตัดบัญชี
- ปัญหาการรับรู้ค่าเช่าหรือรายได้ค่าเช่าตามสัญญา
- ปัญหาการผลักภาระภาษีให้ลูกค้าจ่ายแทน แต่กิจการไม่ได้รับรู้เป็นรายได้
- ปัญหาดอกเบี้ยจากการให้กรรมการกู้ยืมที่ชำระภาษีไม่ครบถ้วน
- การตั้งสำรองหรือค่าเผื่อในทางบัญชีที่มีผลกระทบต่อทางภาษีอากร
- การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศตามมาตรฐานการบัญชีที่มีผลกระทบทางภาษีอากร





นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์สมเดช โรจน์คุรีเสถียร

สถานที่

โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพ (ฝั่งตึกฮอลิเดย์ อินน์)
973 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี
เขต ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ :
02 656 0444
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีชิดลม ทางออกที่ 6


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba