พระราชบัญญัติเงินทดแทน ฉบับใหม่ (รุ่นที่ 2)

รหัสหลักสูตร : 21/3457.1

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,066 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,815 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

พระราชบัญญัติเงินทดแทน ฉบับใหม่ (รุ่นที่ 2)
หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline

 

วิทยากรโดย อาจารย์รำไพ โกมารทัต

หัวข้อสัมมนา

พระราชบัญญัติเงินทดแทน หลักเกณฑ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงของฉบับใหม่ สิ่งที่นายจ้างและฝ่ายบุคคลต้องทราบ พร้อมผลกระทบที่เกิดขึ้นกับบริษัท

1. กรณีเจ็บป่วย จากการทำงานจนไม่สามารถทำงานได้

    - ได้รับเงินชดเชยหยุดงานเพิ่มเป็น 70% ของค่าจ้างรายเดือน
    - ได้รับเงินชดเชยตั้งแต่วันแรกที่หยุดงาน จากเดิมจ่ายเฉพาะกรณีหยุดงาน 3 วันติดต่อกัน

2. กรณีสูญเสียอวัยวะบางส่วน

    - ได้รับเงินชดเชยหยุดงานเพิ่มเป็น 70% ของค่าจ้างรายเดือน เป็นระยะเวลาไม่เกิน 10 ปี

3. กรณีทุพพลภาพ

    - ได้รับเงินชดเชยหยุดงานเพิ่มเป็น 70% ของค่าจ้างรายเดือน
    - เพิ่มระยะเวลาจ่ายเงินทดแทน ไม่น้อยกว่า 15 ปี

4. กรณีเสียชีวิตหรือสูญหาย

    - ได้รับเงินชดเชยหยุดงานเพิ่มเป็น 70% ของค่าจ้างรายเดือน ให้ผู้มีสิทธิเป็น 10 ปี
    - กรณีเสียชีวิต นายจ้างจะต้องจ่ายค่าทำศพแก่ผู้จัดการศพของลูกค้าตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
    - ผู้มีสิทธิได้รับเงินทดแทนกรณีเสียชีวิตหรือสูญหาย

5. วิธีการคำนวณเงินทดแทนกรณีต่างๆ มีหลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณอย่างไร?

หลักเกณฑ์และสาระสำคัญที่นายจ้างและลูกจ้างต้องรู้ เกี่ยวกับพระราชบัญญัติกองทุนเงินทดแทน

1. ความแตกต่างระหว่างกองทุนประสังคมและกองทุนเงินทดแทนที่นายจ้างและลูกจ้างต้องรู้ เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการ
2. กิจการประเภทใดบ้าง? ที่พระราชบัญญัติเงินทดแทนใช้บังคับ และไม่ใช้บังคับ
3. หลักเกณฑ์ วิธีการและกำหนดการในการจ่ายเงินสมทบ ที่ต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย
    - นายจ้างจะต้องจ่ายเงินสมทบกองทุนเงินทดแทนอย่างไร?
    - วิธีการคำนวณ อัตราการจ่ายเงินสมทบ คิดอย่างไร?
    - “การจ่ายเงินสมทบ” จะต้องจ่ายเมื่อไหร่?
    - “เงินสมทบจ่ายการรายงานค่าจ้าง” คืออะไร?
    - นายจ้างจ่ายเงินสมทบ “เกินกำหนด” จะต้องจ่ายค่าปรับเท่าไหร่? ต่อเดือน
4. สิทธิประโยชน์ในกองทุนเงินทดแทนมีอะไรบ้าง? และมีผลกระทบกับองค์กรอย่างไร?
    - ค่ารักษาพยาบาล
    - ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ
    - ค่าทำศพ
    - ค่าทดแทน
5. ระยะเวลาของการแจ้งและรับสิทธิ์เมื่อลูกจ้างประสบอุบัติจากการทำงาน จะต้องปฏิบัติอย่างไร?
    - จะต้องแจ้งการประสบอุบัติเหตุของลูกจ้างภายในกี่วัน
    - กรณีจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน จะต้องทำการเบิกกับกองทุนอย่างไร?
    - ลูกจ้างหรือผู้มีสิทธิยื่นคำร้องขอรับเงินทดแทนภายในกี่วัน
    - หลักฐานการแจ้งการประสบอันตรายหรือการขอรับเงินทดแทน
    - วิธีการส่งตัวลูกจ้างเข้ารักษาพยาบาล
6. ถาม-ตอบประเด็นปัญหา


กำหนดการอบรม

วันศุกร์ที่ 23 พฤศจิกายน 2561

เวลา 09.00-16.00 น.

โรงแรมดุสิตปริ๊นเซส ศรีนครินทร์

(ถ.ศรีนครินทร์) ติดศูนย์การค้าซีคอนสแควร์

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิก (Tax/HR)

3,800 + Vat 266 = 4,066 บาท

บุคคลทั่วไป

4,500 + Vat 315 = 4,815 บาท

(รวมเอกสาร อาหารว่าง ชา กาแฟ อาหารกลางวัน)

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 0:0 0:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์รำไพ โกมารทัต

สถานที่

โรงแรมดุสิตปริ๊นเซส ศรีนครินทร์
53 Srinakarin Road, Nongbon, Pravet Bangkok, Nong Bon, Prawet, Bangkok 10250
โทรศัพท์ :
02 721 8400
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า MRT สถานีสวนหลวง ร.9 ทางออกที่ 1 (ห่างจากสถานี 300 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba