Update กฎหมายการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างประเทศเกี่ยวกับภาษีอากร ผลกระทบที่ผู้บริหารและเจ้าของกิจการต้องทราบ
วิทยากรโดย วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านกฎหมายภาษีอากร
หัวข้อสัมมนา1. วัตถุประสงค์ของพระราชกำหนดการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อปฏิบัติตามความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับภาษีอากร พ.ศ. 2566
2. ประเทศคู่สัญญาที่เข้าร่วมความตกลงพหุภาคีการแลกเปลี่ยนข้อมูลบัญชีทางการเงิน
3. รูปแบบของการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการเงินแบบร้องขอ และแบบอัตโนมัติที่ต้องทราบ
4. บัการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการเงินแบบอัตโนมัติ Common Reporting Standard (CRS) ตามมาตรฐาน OECD เป็นข้อมูลด้านใดบ้าง ต่างจาก FATCA หรือไม่ อย่างไร
5. ผู้ที่มีหน้าที่ในการรายงานข้อมูลให้กับกรมสรรพากร มีอำนาจหน้าที่อย่างไร- จัดให้ลูกค้าแสดงตนเมื่อเปิดบัญชีใหม่- ตรวจสอบบัญชีของลูกค้า- ส่งข้อมูลให้กับหน่วยงานรัฐ- เก็บรักษาเอกสารและหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
6. หลักเกณฑ์ของผู้ที่ต้องถูกรายงานและข้อมูลที่ต้องรายงาน- บุคคลธรรมดา- นิติบุคคล- เอกสารที่ใช้ในการรายงาน
7. บัญชีทางการเงินที่ต้องรายงานและที่ได้รับยกเว้น
8. การตรวจสอบบัญชีทางการเงินของผู้มีหน้าที่รายงานที่มีอยู่ก่อนและหลังวันที่กฎกระทรวงใช้บังคับ
9. หลักเกณฑ์/หลักฐาน เพิ่มเติม ในการตรวจสอบข้อมูล
10. วิธีการรวบรวมและนำส่งข้อมูลที่ต้องรายงานแก่เจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจ
11. การขอหนังสือรับรองสถานะการเป็นผู้มีหน้าที่รายงาน
12. สิ่งที่ผู้ประกอบกิจการ นักบัญชีต้องระมัดระวังเกี่ยวเกี่ยวกับข้อมูลด้านบัญชีการเงินและการเสียภาษี
13.ผลกระทบทางธุรกิจเมื่อมีกฎหมายใช้บังคับตามพระราชกำหนดการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อปฏิบัติตามความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับภาษีอากร - ข้อมูลด้านบัญชีการเงินต้องระมัดระวังมากน้อยเพียงใด
14.ในกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามจะมีโทษหรือไม่อย่างไร
973 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขต ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ : 02 656 0444