• วิธีปฏิบัติเพื่อรับมือกับผลกระทบของภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงานของกิจการ ที่ต้องเตรียมพร้อม• จุดที่ควรระมัดระวัง ที่จะทำให้การคำนวณผลประโยชน์ของพนักงานไม่ถูกต้อง• แนวปฏิบัติทางการบัญชีเรื่องผลประโยชน์พนักงาน
วิทยากรโดย ดร.ธีรเศรษฐ์ เมธจิรนนท์
หัวข้อสัมมนาสรุปสาระสำคัญ มาตรฐานการบัญชี TAS 19 เรื่องผลประโยชน์พนักงาน ประเภทของผลประโยชน์พนักงานและหลักการรับรู้รายการ1.ผลประโยชน์ระยะสั้น (จ่ายภายใน 12 เดือน หลังวันสิ้นงวด) การรับรู้รายการผลประโยชน์ระยะสั้นทั้งหมดของพนักงาน2. ผลประโยชน์หลังออกจากงาน- เงินสมทบ เช่น กองทุนเลี้ยงชีพ ไม่ต้องใช้คณิตศาสตร์ประกันภัย- เงินชดเชยจากกฎหมายแรงงาน การรักษาพยาบาลหลังออกจากงาน บำเหน็จ บำนาญ- ความแตกต่างระหว่าง “โครงการสมทบเงิน” กับ “โครงการผลประโยชน์”- การรับรู้รายการและการวัดมูลค่า “โครงการสมทบเงินที่กำหนดไว้” และ “โครงการผลประโยชน์ที่กำหนดไว้”3. ผลประโยชน์ระยะยาวอื่นๆ ของพนักงาน มีรายการใดบ้าง และวิธีการทางบัญชีต้องปฏิบัติ ในเรื่องนี้อย่างไร เช่น การใช้เงินรางวัล หรือของรางวัลเช่นทองคำ เมื่อพนักงานทำงานครบอายุงานที่กำหนดเช่น 10 ปี 20 ปี4. ผลประโยชน์เมื่อเลิกจ้าง- การเลิกจ้างก่อนเกษียณปกติ การใช้ผลประโยชน์เพื่อให้พนักงานออกโดยสมัครใจ ไม่ต้องใช้คณิตศาสตร์ประกันภัย5. ผลประโยชน์ที่จ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์6. การคำนวณค่าใช้จ่ายและหนี้สินผลประโยชน์พนักงานสำหรับกิจการ ทั้ง PAEsและNPAEs - ขั้นตอนการคำนวณ พร้อมตัวอย่างและการเปิดเผยข้อมูล7. การนำรายงานการประเมินผลประโยชน์พนักงานไปให้อย่างถูกต้องและตรงตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน8. ปัญหาที่พบและแนวทางแก้ให้ถูกต้องในการบันทึกบัญชีผลประโยชน์พนักงาน9. กิจการใดบ้างที่ต้องมีการคำนวณผลประโยชน์ของพนักงาน10. กรณีกิจการไม่ได้มีการคำนวณผลประโยชน์ของพนักงาน จะมีผลอย่างไร11. วิธีปฏิบัติเพื่อรับมือกับผลกระทบของภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงานของกิจการ ที่ต้องเตรียมพร้อม12. การประเมินผลประโยชน์พนักงานตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย13. การเตรียมข้อมูลสำหรับการคำนวณผลประโยชน์ของพนักงาน- ใช้ข้อมูลอะไรบ้างในการประเมิน- ตัวอย่างการเก็บข้อมูลพนักงานรายบุคคล และข้อมูลทางสถิติ- วันเกิด, วันจ้างงาน, เงินเดือน, เงินสวัสดิการ, ค่าตำแหน่ง, วันที่เกษียณและอายุเกษียณ14. ความสำคัญของข้อมูลพนักงานรายบุคคล และข้อมูลทางสถิติ15. รายละเอียดผลประโยชน์พนักงานที่นอกเหนือจากเงินชดเชยจากกฎหมายแรงงาน16. ขั้นตอนและแนวทางการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลก่อนการทำการประเมินผลประโยชน์พนักงาน- รูปแบบวันที่- ช่วงอายุพนักงาน และอายุการทำงาน น้อยหรือมากผิดปกติ- เงินเดือน น้อยหรือมากผิดปกติ- การปรับขึ้นเงินเดือนระหว่างปีมีความผิดปกติหรือไม่ เช่นเงินเดือนขึ้น 40% หรือเงินเดือนลดลง เป็นต้น- มีช่องว่างของข้อมูลที่ไม่ได้กรอกลงไปหรือไม่- ตัวอย่างการตรวจสอบข้อมูลและแนวทางการแก้ไข17. ข้อมูลทางสถิติที่ต้องใช้ในการประเมินผลประโยชน์พนักงานและแนวทางการตรวจสอบความถูกต้อง- อัตราการลาออก- อัตราการเสียชีวิต- อัตราทุพพลภาพ- อัตราการเกษียณก่อนกำหนด18. จุดที่ควรระมัดระวัง ที่จะทำให้การคำนวณผลประโยชน์ของพนักงานไม่ถูกต้อง19. ประเด็นปัญหาที่มักพบในการคำนวณผลประโยชน์ของพนักงานและแนวทางแก้ไขปัญหา20. แนวทางการประสานงานและข้อมูลที่ต้องการจากฝ่ายบุคคล21. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
204 รัชดาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320
โทรศัพท์ : 02-694-2222