กฎหมาย Digital สำหรับการบริหารทรัพยากรมนุษย์
(Digital law for HRM)
บรรยายโดย อาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
หัวข้อสัมมนา
1.กฎหมายว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ • ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ • วงจรเอกสารอิเล็กทรอนิกส์และการรองรับตาม ที่กม.กำหนด - e-Document - e-Signature - e-Original - e-Archive - e-Evidence • สัญญาอิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับการจ้างงาน - ความแตกต่างของสัญญาจ้างแรงงานรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์และรูปแบบกระดาษ - ข้อความที่จำเป็นต้องระบุในสัญญาจ้าง - หากเกิดคดีความฟ้องร้องสามารถใช้เป็นหลักฐาน ในศาลได้หรือไม่ - ข้อควรระวังการใช้บริการแพตฟอร์มเอกสาร ออนไลน์ • ข้อควรระวังการประกาศระเบียบข้อบังคับ แนวปฏิบัติและประกาศคำสั่งต่างๆ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ • การเก็บรักษาข้อมูลในรูปแบบข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์ • E-signature ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ในการทำสัญญา - ประเภทของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ - ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ใช้เป็นหลักฐานในศาล ได้หรือไม่ - หากไม่มีลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์กรณีใดบ้าง ถือว่าได้มีการลงลายมือชื่อแล้ว - เอกสารใดบ้างต้องลงเป็นลายมือชื่อเท่านั้น
2. กฎหมายว่าด้วย การกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ • การกระทำที่ถือว่าเป็นความผิดตามฎหมาย ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ • การตลาด Social Media ต่างๆ ที่องค์กรต้องระมัดระวัง • การใช้ FB Line Twitter ในการสร้างความเสียหาย ให้กับองค์กร (โพสต์ต้องห้าม!! ที่แอดมินต้องรู้) • กรณีพนักงานทำความผิด ตามกฎหมายฉบับนี้ บริษัทจะต้องรับผิดชอบหรือไม่ • กรณีศึกษาโทษปรับและจำคุกตามความผิด พรบ.คอมพิวเตอร์
3. กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลสำหรับงาน HR • บทบาท หน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องกับ PDPA • การจัดการเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล ของลูกจ้าง/ผู้สมัครงาน • วงจรเอกสารของงาน HR (Document Cycle of HR) ที่เกี่ยวข้องกับ PDPA • การสร้างความตระหนักรู้ให้กับลูกจ้างเกี่ยวกับ PDPA • กรณีข้อมูลลูกจ้าง/ผู้สมัครงานที่เก็บไว้ก่อน กม.บังคับใช้จะต้องทำอย่างไร? • ความรับผิดของลูกจ้าง กรณีทำผิด PDPA
4. กฎหมายรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ • HR จะต้องสร้างความตระหนักรู้ให้กับพนักงานอย่างไร? - ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการ ถูกคุกคามทางไซเบอร์ - มาตรการป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น - สิ่งที่ต้องปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุภัยคุกคาม • รูปแบบและระดับภัยคุกคามที่ HR ต้องทราบ และจะต้องเตรียมรับมืออย่างไร - ภัยคุกคามที่มากับข้อมูลรั่วไหล การถูกเจาะระบบข้อมูล - ภัยคุกคามที่มากับ E-mail ปลอม ข่มขู่เรียกทรัพย์ - ภัยคุมคามที่มากับมัลแวร์ - ภัยคุกคามที่มากับไวรัส - ภัยคุกคามที่มาจากภายใน - ความเสี่ยงต่างๆ จากการเข้า Internet ฯลฯ
5. วินัยและการลงโทษ กรณีพนักงานกระทำผิด ที่เกี่ยวกับกฎหมาย Digital จะต้องดำเนินการอย่างไร? • ประเภทการลงโทษทางวินัย มีอะไรบ้าง • กรณีความผิดเกี่ยวกับกฎหมาย Digital จะต้องแก้ไขระเบียบข้อบังคับหรือไม่ • การลงโทษทางวินัย (ขั้นสูงสุด) การเลิกจ้าง (Dismissal) จะต้องปฏิบัติอย่างไร ให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย เพื่อป้องกันลูกจ้างฟ้องร้องภายหลัง6. คำพาพากษาฎีกาที่เกี่ยวข้อง7. ถาม-ตอบประเด็นปัญหา
99/1 ถ.รัชดาภิเษก แขวง ดินแดง เขต ดินแดง กทม.
โทรศัพท์ : 02 2764567