รู้เท่าทันความผิดปกติในงบการเงิน แนวปฏิบัติที่ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชีและผลกระทบทางภาษี

รหัสหลักสูตร : 21/2346

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,066 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 4,815 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร


รู้เท่าทันความผิดปกติในงบการเงิน แนวปฏิบัติที่ถูกต้อง
ตามมาตรฐานการบัญชีและผลกระทบทางภาษี


หัวข้ออบรมสัมมนา Course Outline
CPD
ผู้ทำบัญชี บัญชี 3 ชม. อื่นๆ 3 ชม.
ผู้สอบบัญชี บัญชี 3 ชม. อื่นๆ 3 ชม.

 

วิทยากรโดย ดร.สิงห์ชัย อรุณวุฒิพงศ์

หัวข้อสัมมนา

1. การจัดทำงบการเงินตามกรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน
2. ภาระภาษีของกิจการที่ต้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษ
3. ผลกระทบต่อการจัดทำบัญชี และความแตกต่างกับภาษีอากรที่ต้องระมัดระวัง
4. เมื่อหลักเกณฑ์ทางบัญชีไม่ตรงกับทางภาษีกิจการจะต้องปรับปรุงกำไรสุทธิ (บวกกลับ) หรือไม่
5. บทลงโทษหากเสียภาษีไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วน
6. 15 ประเด็น ความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการบัญชีกับภาษีอากร ที่ต้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษ
7. งบการเงินผิดปกติ มีข้อสังเกตอย่างไร ประเด็นที่มักถูกเรียกตรวจสอบ
8. รู้เท่าทันความผิดปกติในงบการเงินที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและภาษีอากร
9. 5 ประเด็น การปิดบังข้อมูลบางรายการไม่ให้ผู้สอบบัญชีและสรรพากรได้รับทราบ
10. 5 ปัญหาการปรับแต่งตัวเลขทางบัญชีที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ทางบัญชีและภาษีอากร
11. การสร้างการค้าเพื่อให้รายงานการเงินเป็นไปตามที่ต้องการ
12. จัดทำรายงานทางการเงินที่มีลักษณะทุจริตทั้งภายในและภายนอกองค์กร
13. จัดทำรายงานการเงินเพื่อการบริหารกำไรมากกว่าข้อเท็จจริง
14. การเลือกหลัการบัญชีมาใช้ในกิจการเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ฝ่ายบริหารต้องการแต่ไม่ถูกต้องตามมาตรฐาน
การบัญชีและภาษีอากร
15. การเสริมสร้างผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของกิจการที่ทำให้เกิดความเข้าใจผิดในงบการเงิน
ประเด็นที่มักพบเห็น
16. เปลี่ยนวิธีทางการบัญชี วิธีประมาณการ ให้กิจการได้รับประโยชน์สรรพากรจะยอมรับหรือไม่
17. เปลี่ยนแปลงรอบระยะเวลาบัญชีให้กิจการได้รับประโยชน์ต้องขออนุมัติหรือไม่
18. การแสดงหรือละเว้นที่จะแสดงรายการในงบการเงินให้ผิดไปจากข้อเท็จจริงจะมีผลทางภาษีอากรอย่างไร
19. มีลูกหนี้หรือเจ้าหนี้ที่ไม่มีตัวตนประเด็นที่มักถูกประเมิน
20. มีการเพิ่มมูลค่าของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนให้สูงขึ้น
21. บันทึกสินทรัพย์ทั้งที่ไม่มีกรรมสิทธ์จริง
22. 5 ประเด็น การจำหน่ายสินทรัพย์ในมูลค่าที่สูงหรือต่ำเกินไป สรรพากรเพ่งเล็งอะไรเป็นพิเศษ
23. มีการตั้งสำรองหรือค่าเผื่อสูงหรือต่ำเกินไป ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขของประมวลรัษฎากร
24. มีการปรับแต่งการตั้งค่าเผื่อสูงหรือต่ำเกินไป ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขภาษีอากรที่กำหนดไว้
25. การกำหนดอายุการใช้งานของสินทรัพย์แตกต่างไปจากภาษีอากรกำหนด
26. การกำหนดค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ให้ได้รับสิทธิประโยชน์ไม่เข้าเงื่อยไขประมวลรัษฎากร
27. 5 ประเด็น หักค่าเสื่อมราคาไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามรอบระยะเวลาบัญชีและไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์
ทางภาษีอากร
28. มีการปรับลดมูลค่าของสินทรัพย์ลงเพื่อลดค่าใช้จ่ายให้น้อยลงสรรพากรยอมรับหรือไม่
29. 5 ประเด็น การตัดจำหน่ายสินทรัพย์ออกจากบัญชีไม่เป็นไปตามเข้าหลักเกณฑ์ภาษีอากรกำหนด
30. แสดงจำนวนเงินในงบการเงินให้เกิดการหลงผิดอันเป็นข้อผิดพลาดทางบัญชี
31. กำหนดให้กรรมการ ผู้บริหาร หรือพนักงานกู้ยืมเงินโดยไม่มีระเบียบกำหนด ไม่มีหลักประกัน ไม่น่า
เชื่อถือทางภาษีอากร
32. ให้บริษัทในเครือกู้ยืมเงินโดยมีผลตอบแทนสรรพากรยอมรับหรือไม่
33. กิจการไม่ได้มีภาระผูดพันในหนี้สินจริงประเด็นที่มักถูกประเมิน
34. ปรับลดหนี้สินหรือไม่แสดงมูลค่าของหนี้สินตามข้อเท็จจริง
35. บันทึกผิดประเภทบัญชีจะแก้ไขอย่างไรให้ถูกสรรพากรยอมรับ
36. แสดงมูลค่าหรือจำนวนเงินของรายการค้าไม่ถูกต้อง
37. ไม่บันทึกรายการหรือละเว้นในการบันทึกรายการ
38. แสดงฐานะการเงินที่เป็นเท็จ
39. มีการปลอมแปลงเอกสาร หรือทำนิติกรรมอำพราง
40. มีการกระทำกิจกรรมบางประเภทที่ผิดกฎหมาย
41. 5 ประเด็น กำหนดราคาโอนสินค้า บริการ หรือสินทรัพย์ระหว่างกิจการสูงหรือต่ำเกินไปไม่เป็นไป
ตามราคาของสรรพากร
42. มีการโยกย้ายรายการในงบกำไรขาดทุนทำให้เกิดความเข้าใจผิดเสียภาษีผิดพลาด
43. เลือกวิธีการรับรู้รายได้ให้กิจการได้รับประโยชน์สูงสุดแต่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและภาษีอากร
44. ใช้วิธีการชะลอการรับรู้รายได้ออกไปเพื่อควบคุมกำไรของกิจการ
45. รับรู้รายได้ทั้งที่ยังไม่ได้เกิดขึ้นในกิจการหรือในรอบระยะเวลาบัญชี
46. ในทางบัญชียังไม่รับรู้เป็นรายได้ แต่เลือกที่จะรับรู้ก่อนกำหนด
47. กำหนดให้มีรายได้ทั้งที่ไม่เกิดขึ้นจริง
48. การบันทึกรายได้ไม่ครบถ้วน หรือ ละเว้นการบันทึกรายได้
49. การบันทึกรายได้ผิดรอบระยะเวลาบัญชี
50. แสดงรายการของรายได้และการเปิดเผยข้อมูลไม่ถูกต้อง
51. มีการกำหนดให้กำไรของกิจการสูงขึ้น หรือเกลี่ยนกำไรของกิจการ
52. การสร้างเอกสารค่าใช้จ่ายอันเป็นเท็จ
53. นำค่าใช้จ่ายส่วนตัวมาเป็นค่าใช้จ่ายของกิจการ
54. เพิ่มค่าใช้จ่ายหรือเกลี่ยค่าใช้จ่ายของกิจการเพื่อลดผลกำไร
55. นำค่าใช้จ่ายมาตั้งพัก ทยอยตัดจำหน่าย หรือรอตัดบัญชีทั้งที่มาตรฐานการบัญชีไม่อนุญาตให้ปฏิบัติ
56. ชะลอหรือดึงค่าใช้จ่ายไม่ให้เกิดขึ้น ในรอบระยะบัญชีปัจจุบัน
57. นำค่าใช้จ่ายที่ยังไม่เกิดขึ้นมาบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในปีปัจจุบัน
58. กำหนดค่าใช้จ่ายในการขายสูงเกินไป
59. กำหนดค่าใช้จ่ายในการขายสูงเกินไป
60. กำหนดการจ่ายเงินเดือนค่าจ้างพนักงานไม่มีตัวตน
61. ขายสินค้าหรือให้บริการต่ำกว่าข้อเท็จจริง
62. การเลือกใช้หรือไม่ใช้ผลขาดทุนสะสมยกมา
63. งบกระแสเงินสดสะท้อนการบริหารและการจัดการเงินสด
64. กิจกรรมลงทุนสะท้อนการนำเงินไปใช้ลงทุนในสินทรัพย์หรือเงินลงทุนสูงหรือต่ำไป
65. กิจกรรมจัดหาเงินกระทบต่อการกู้ยืมเงินของกิจการมากน้อยเพียงใดความผิดปกติในหมายเหตุประกอบ
งบการเงิน
66. หมายเหตุประกอบงบการเงินเปิดเผยข้อมูลอะไรบ้าง
67. 5 ประเด็นความผิดในการหมายเหตุประกอบงบการเงิน
68. ถาม-ตอบปัญหา

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
3:0 3:0 3:0 3:0

วิทยากร

ดร.สิงห์ชัย อรุณวุฒิพงศ์

สถานที่

โรงแรมแกรนด์ เมอร์เคียว ฟอร์จูน
1 ถนนรัชดาภิเษก Fortune Town เขต ดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ :
02-641-1500
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba