55 ปัญหาบัญชีภาษีอากรสำหรับธุรกิจนำเข้า - ส่งออก

รหัสหลักสูตร : 21/2394

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,815 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,564 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

หัวข้อสัมมนา

1. มาตรฐานการบัญชีและภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจนำเข้าและส่งออก สิ่งที่นักบัญชีต้องระมัดระวัง

2. หลักเณฑ์สำคัญทางภาษีที่นักบัญชีต้องระมัดระวัง

3. ผู้นำเข้าและผู้ส่งออกกับภาระภาษีที่ต้องเสียมีอะไรบ้าง

4. บัญชีและเอกสารที่ใช้ในการนำเข้าและส่งออก และค่าใช้จ่ายในการนำเข้าและส่งออกประกอบด้วยอะไรบ้างเพื่อใช้เป็นหลักฐานในการเสียภาษี

5. เขตอุตสาหกรรมส่งออกกับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับกิจการ

6. อัตราภาษี 0% ของผู้ประกอบการส่งออกและผลกระทบต่อภาระภาษีที่ผิดพลาด

7. ผู้นำเข้าและผู้ส่งออกจุดความรับผิดชอบในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อใด

8. หน้าที่ที่สำคัญของผู้ประกอบการที่จะเป็นผู้นำเข้าและส่งออกที่มีผลกระทบต่อภาระภาษี

9. หลักการปฏิบัติเกี่ยวข้องกับใบขนส่งสินค้าขาเข้าและใบขนส่งสินค้าขาออก

10. ระบบบัญชีและเอกสารของธุรกิจนำเข้าและส่งออก ที่ถูกต้องตามาตรฐานการบัญชี

11. เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการบันทึกบัญชีและภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับการขายสินค้าส่งออกไปต่างประเทศทางบัญชีจะต้องให้เอกสารอะไรบ้างในการบันทึกบัญชี

12. เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการบันทึกบัญชีและภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับส่งออกสินค้าไปขาย ต่างประเทศติดชายแดนประเทไทย

13. เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการบันทึกบัญชีและภาษี ที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้า หลักฐานในการนำเข้าสินค้าหรือทรัพย์สิน

14. การบันทึกบัญชีและภาษีอากรในการรับรู้รายได้ของธุรกิจนำเข้า-ส่งออก

15. ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับรายจ่ายของธุรกิจนำเข้า-ส่งออกที่นักบัญชีต้องไม่พลาด

16. การรับรู้รายได้ของธุรกิจนำเข้า-ส่งออก และค่าใช้จ่าย จะรับรู้เมื่อใด จึงจะถูกต้องตามาตรฐานการบัญชี

17. รายได้จากการส่งออกตามประมวลรัษฎากรกับภาระภาษีที่ต้องเสีย ที่นักบัญชีต้องทราบ

18. ปัญหาการรับรู้รายได้ของธุรกิจส่งออกที่คาบเกี่ยวรอบระยะเวลาบัญชี

19. เมื่อมีการนำเข้าจะรับรู้สินทรัพย์ หรือ สินค้า เมื่อใด ให้ถูกต้อง

20. ปัญหาการขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อมีการนำเข้า นักบัญชีจะมีวิธีแก้ปัญหานี้อย่างไรให้ถูกต้อง

21. ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการนำเข้าและส่งออกจะบันทึกเป็นต้นทุนหรือค่าใช้จ่าย

22. ค่าใช้จ่ายในการส่งออกและนำเข้า เช่น ค่าจ้างชิปปิ้งออกของ ค่าธรรมเนียม จะบันทึกบัญชีและเสียภาษี อย่างไร

23. การเสียภาษีมูลค่าเพิ่มอัตราร้อยละ 0 มีหลักเกณฑ์อย่างไร

24. ความแตกต่างการขายสินค้าอัตรา 7% กับ 0%

25. ความแตกต่างการให้บริการอัตรา 7% กับ 0%

26. ขายสินค้าโดยการส่งออก แต่ดำเนินพิธีกรรมศุลกากรในนามผู้ผลิต

27. ขายสินค้าในต่างประเทศ แต่ได้ส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้าในประเทศ

28. ขายสินค้าในต่างประเทศ แต่ส่งมอบสินค้าให้แก่ตัวแทนของลูกค้าในประเทศ

29. การนำสินค้าในราชอาณาจักรเข้าไปในเขตอุตสาหกรรมส่งออก

30. การขายสินค้าระหว่างคลังสินค้าทัณฑ์บนกับคลังสินค้าทัณฑ์บน ระหว่างคลังสินค้าทัณฑ์บนกับผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการอยู่ในเขต อุตสาหกรรมส่งออก หรือระหว่างผู้ประกอบการที่ประกอบกิจการอยู่ในเขต อุตสาหกรรมส่งออก จะต้องบันทึกบัญชีอย่างไร

31. การส่งออกสินค้าที่มีการโอนส่วนจัดสรรหรือแลกเปลี่ยนส่วนจัดสรร ทางบัญชีต้องทำอย่างไร

32. การส่งออกสินค้าที่มีส่วนจัดสรรโดยเจ้าของสินค้าใช้ชื่อส่วนจัดสรร ของบุคคลอื่นต้องปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้อง

33. การส่งออกสินค้าในนามบริษัทการค้าระหว่างประเทศ (Trading Company) ที่ได้รับส่งเสริมการลงทุน ต้องปฏิบัติอย่างไร

34. การส่งออกสินค้าของโรงงานในไทยโดยผ่านตัวแทนในการส่งออก ทางบัญชีจะต้องทำการบันทึกรายการ ทางบัญชีอย่างไร

35. การขายน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน ให้แก่ผู้ประกอบการให้บริการขนส่งระหว่างประเทศโดยอากาศยานหรือเรือเดินทะเล รายได้ส่วนนี้จะต้องนำมาบันทึกบัญชีอย่างไร

36. ขายสินค้าไปต่างประเทศโดยว่าจ้างผู้ประกอบการรับขนส่งพัสดุภัณฑ์ทางอากาศให้จัดส่งสินค้าจะต้องบันทึกบัญชีอย่างไร

37. ขายสินค้าให้แก่ผู้ซื้อในต่างประเทศโดยว่าจ้างผู้ประกอบการรับจัดการขนส่ง สินค้าระหว่างประเทศโดยเรือเดินทะเล (Freight Forwarder)ให้จัดส่งสินค้าให้ นักบัญชีจะต้องบันทึกบัญชีอย่างไร

38. การส่งสินค้าไปต่างประเทศโดยทางไปรษณีย์ จะต้องปฏิบัติอย่างไร

39. การขายสินค้าให้แก่ผู้ซื้อ แต่ผู้ซื้อนำติดตัวออกไปนอกราชอาณาจักรเอง โดยมิได้กระทำพิธีการศุลกากร ทางบัญชีจะต้องปฏิบัติย่างไรให้ถูกต้อง

40. การบันทึกบัญชีอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและปัญหาในการเสียภาษีอากร

41. การบันทึกบัญชีการนำเข้าสินค้าต่างประเทศจะใช้อัตราแลกเปลี่ยนใด และจะบันทึกเมื่อใด

42. การบันทึกบัญชีการหักภาษี ณ ที่จ่ายและการเสีย ภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อได้รับหรือจ่ายเงินต่างประเทศ

43. การหักภาษี ณ ที่จ่ายให้กับ Freight Forwarder มีหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติอย่างไร

44. การบันทึกบัญชีค่าขนส่งทางเรือ,ทางอากาศยาน, Freight Forwarder และค่าขนส่งทางบกทั้งในและต่างประเทศ

45. การขายสินค้าในเขต EPZ มีขั้นตอนและภาระภาษีอย่างไรบ้าง

46. การนำสินค้าออกจากเขต EPZ จะต้องบันทึกบัญอย่างไร

47. การบันทึกบัญชีซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า การทำสัญญา forward นักบัญชีจะต้อง ปฏิบัติอย่างไร

48. การบันทึกบัญชีอัตราแลกเปลี่ยน และรายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ในระหว่างรอบบัญชีและสิ้นรอบบัญชี ต้องบันทึกบัญชีอย่างไร

49. การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายของผลต่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

50. การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการนำเข้าและส่งออกสินค้า นักบัญชีต้อง ปฏิบัติอย่างไร

51. ปัญหาที่พบมากในการจัดทำรายงานภาษีขายของผู้ส่งออก ที่นักบัญชีจะต้องทำการตรวจสอบเป็นพิเศษ

52. การซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าและผลกระทบต่ออัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ที่เกินในรอบระยะบัญชี

53. ปัญหาในการขอภาษีซื้อคืนจากการนำเข้าสินค้าที่มักผิดพลาดคาดเคลื่อน และเอกสารประกอบการขอภาษีซื้อคืน

54. ประเด็นใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ และใบกำกับภาษีปลอม จะต้องปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้องครบถ้วน

55. กรณีศึกษา การตรวจสอบภาษีของธุรกิจนำเข้าส่งออกจากตัวอย่างจริง

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

ดร.สิงห์ชัย อรุณวุฒิพงศ์

สถานที่

โรงแรมดุสิตปริ๊นเซส ศรีนครินทร์
53 Srinakarin Road, Nongbon, Pravet Bangkok, Nong Bon, Prawet, Bangkok 10250
โทรศัพท์ :
02 721 8400
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า MRT สถานีสวนหลวง ร.9 ทางออกที่ 1 (ห่างจากสถานี 300 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba