การเสียภาษีของธุรกิจ Online ธุรกิจ e-Commerce และการตรวจสอบภาษีของกรมสรรพากร**เลื่อนโปรดติดต่อเจ้าหน้าที่**

รหัสหลักสูตร : 21/1682

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 4,280 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 5,029 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

การเสียภาษีของธุรกิจ Online ธุรกิจ e-Commerce และการตรวจสอบภาษีของกรมสรรพากร

  • ขายของผ่าน Social (Line, Facebook, Twitter, YouTube, Website)
  • การรับริวิวสินค้าผ่าน Facebook, Line, Twitter
  • ไลฟ์สดขายสินค้าผ่านโซเซียล, เกม Online
  • ขายสินค้าผ่านแอพฝากขาย
  • 10 ประเภทธุรกิจออนไลน์, ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce รูปแบบใหม่ที่สรรพากรกําหนดให้เสียภาษี
  • การใช้โปรแกรมล่อซื้อของสรรพากรสําหรับธุรกิจออนไลน์, ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce
  • แนวทางการตรวจเข้มของสรรพากรกับธุรกิจออนไลน์, ธุรกิจ E-Commerce
  • แนวโน้มและนโยบายการให้อํานาจแก่สถาบันการเงินเป็นผู้จัดเก็บภาษี หัก ณ ที่จ่ายแทนกรมสรรพากรกรณีเมื่อมีการโอนเงินเพื่อชําระค่าสินค้าหรือบริการต่าง ๆบนระบบออนไลน์
  • National e-Payment ระบบการชําระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ กับการปรับตัวทางด้านภาษีของธุรกิจออนไลน์ธุรกิจ E-Commerce

หัวข้อสัมมนา

  1. ธุรกิจออนไลน์, ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce กับความหมายและมุมมองของสรรพากร
  2. 10 ประเภทธุรกิจออนไลน์, ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce รูปแบบใหม่ที่สรรพากรกำหนดให้เสียภาษี
    • ขายของผ่าน Social (Line, Facebook, Twitter, YouTube, Website) ถ้าไม่ได้จดทะเบียนการค้าต้องเสียภาษีหรือไม่
    • การรับริวิวสินค้าผ่าน Facebook, Line, Twitter
    • ซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ต (E-Commerce)
    • ขายสินค้าหรือจัดทำรายการโดยถ่ายทอดสดผ่าน Facebook
    • การขายผ่านแอพฝากขายสินค้า, Website ฝากขาย
    • การให้บริการผ่านช่องทางออนไลน์ หรือผ่านทาง Website
    • เกม Online (การเล่นเกมผ่านระบบออนไลน์)
    • การขายสินค้าบนเว็บบอร์ด โดยผู้ขายไม่มีเว็บไซต์เป็นของตัวเองถือว่าเป็นธุรกิจออนไลน์หรือไม่
    • ขนส่ง Online ถือว่าเป็นธุรกิจออนไลน์หรือไม่
  3. การจัดเก็บภาษีจากธุรกิจออนไลน์, ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce ของกรมสรรพากร
    • สรรพากรมีแนวทางการตรวจสอบภาษีธุรกิจออนไลน์อย่างไร
    • การตรวจการเสียภาษีผู้ประกอบการ E-Commerce
    • การตรวจสอบรายได้จากเส้นทางการเดินของเงิน, บัญชีเงินฝาก
    • สรรพากรจะเข้าถึงธุรกิจออนไลน์ได้อย่างไร
  4. การใช้โปรแกรมล่อซื้อของสรรพากรสำหรับธุรกิจออนไลน์,ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce
    • สรรพากรเริ่มใช้โปรแกรมจับตรวจธุรกิจ E-Commerce โปรแกรมตรวจสอบผู้ประกอบการขายสินค้าออนไลน์แล้วหรือไม่
  5. แนวทางการตรวจเข้มของสรรพากรกับธุรกิจออนไลน์,ธุรกิจ E-Commerce
    • ไลฟ์สดผ่านโซเซียล ซื้อขายผ่ายโซเซียล กับการตรวจสอบของสรรพากร
    • การขายผ่าน Web ฝากขายสินค้า, ตลาดนัดออนไลน์ E-Market
  6. การขายสินค้าหรือให้บริการออนไลน์ต้องลงทะเบียนรายงานรายได้ต่อสรรพากรหรือไม่
    • รายได้เท่าไหรที่จะต้องยื่นรายงานรายได้ต่อสรรพากร ถ้ารายได้ไม่ถึงเกณฑ์จำเป็นต้องลงทะเบียนรายงานรายได้หรือไม่
    • บริษัทหรือนิติบุคคลที่มีหน้าร้านแต่ขายผ่านออนไลน์ต้องลงทะเบียนรายงานรายได้ต่อสรรพากรหรือไม่
  7. ธุรกิจออนไลน์, ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce กับการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
    • หลักเกณฑ์การเสียภาษีของกรมสรรพากร
    • กรณีเป็นเด็กไม่บรรลุนิติภาวะ (ผู้เยาว์) จะเสียภาษีอย่างไร
    • รายได้เท่าไหรที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการและเสียภาษีจำเป็นต้องยื่นทุกปีหรือไม่???
    • หากไม่เคยเสียภาษีมาก่อน แต่อยากเริ่มเสียภาษีให้ถูกต้องจะถูกตรวจสอบรายได้ย้อนหลังหรือไม่
  8. ปัญหาทางด้านภาษีธุรกิจออนไลน์, ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce ของนิติบุคคล
    • สรรพากรมีแนวทางในการจัดเก็บภาษีธุรกิจออนไลน์, ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce ของนิติบุคคลอย่างไร
    • การจัดทำ STOCK สินค้า
    • การรับรู้รายได้ของนิติบุคคล
  9. การเสียภาษีมูลค่าเพิ่มของธุรกิจออนไลน์, ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce
    • กรณีมีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาท แต่ไม่รู้ข้อกฎหมายไม่ได้เข้าสู่ระบบ VAT ถูกสรรพากรตรวจเรียกตรวจ Statement ย้อนหลังจะชี้แจงสรรพากรอย่างไร สรรพากรจะผ่อนปรนให้หรือไม่
    • ประกอบธุรกิจออนไลน์สั่งซื้อมาขายต่อ ซื้อมาขายไปไม่มีใบเสร็จไม่มีหลักฐาน สรรพากรจะทราบได้อย่างไรเสี่ยงต่อการตรวจสอบหรือไม่
    • การออกใบกำกับภาษี (Tax Invoice)
    • กรณีโหลดเกมส์ เล่นเกมผ่านระบบออนไลน์ ใครมีหน้าที่นำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มให้สรรพากร ต้องออกใบกำกับภาษีหรือไม่
    • การออกใบกำกับภาษีแบบอิเล็กทรอนิกส์และหลักฐาน การชำระเงินให้กับลูกค้า
  10. ธุรกิจออนไลน์, ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce กับประเด็นภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย
    • ความแตกต่างระหว่าง “ขายสินค้า” และ “การให้บริการ” ผ่านระบบออนไลน์ ประเด็นใดบ้างที่ธุรกิจออนไลน์, ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
    • หลักเกณฑ์และวิธีการหัก ณ ที่จ่ายกรณีให้บริการทั้งในประเทศและต่างประเทศ
    • อัตราภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย 1% 3% 5% ใช้กับกรณีใดบ้าง
    • แนวโน้มและนโยบายการให้อำนาจแก่สถาบันการเงินเป็นผู้จัดเก็บภาษี หัก ณ ที่จ่ายแทนกรมสรรพากรกรณีมีการโอนเงินเพื่อชำระค่าสินค้าหรือบริการต่าง ๆ บนระบบออนไลน์
  11. National e-Payment ระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์กับการปรับตัวทางด้านภาษีของธุรกิจออนไลน์ ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce
    • ผู้ประกอบการธุรกิจออนไลน์, ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce ควรเตรียมตัวอย่างไร
    • การเข้าสู่ระบบ e – tax invoice
    • National e-Payment ระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์มีผลกระทบอย่างไรหรือไม่ต่อธุรกิจออนไลน์ ธุรกิจพาณิชย์ E-Commerce
  12. การวางระบบทางด้านภาษีของธุรกิจธุรกิจออนไลน์ ธุรกิจพาณิชย์E-Commerce และการวางแผนด้านภาษี
    • การวางระบบด้านบัญชี (จำเป็นหรือไม่ที่ต้องมีการจัดทำบัญชี)
    • การวางระบบด้านเอกสารหลักฐานที่สำคัญที่ควรจัดทำไว้เพื่อเป็นหลักฐานเมื่อถูกสรรพากรเรียกพบ
    • ข้อพิจารณาวางแผนภาษี การประกอบธุรกิจออนไลน์ในรูปแบบบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลเพื่อประโยชน์สูงสุดในการเสียภาษี
  13. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
0:0 6:0 0:0 6:0

วิทยากร

อาจารย์ชุมพร เสนไสย

สถานที่

โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพ (ฝั่งตึกฮอลิเดย์ อินน์)
973 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี
เขต ปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศัพท์ :
02 656 0444
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า BTS สถานีชิดลม ทางออกที่ 6


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba