รู้ลึกกรอกจริง เทคนิคการกรอกแบบ ภ.ง.ด. 51 และ เคล็ดลับการประมาณการกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลกลางปี แบบไม่ต้องเสียเงินเพิ่ม
1. ใครบ้างที่ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.51
2. เจาะรายการในแบบ ภ.ง.ด.51 บรรทัดต่อบรรทัด
3. จุดที่ต้องระวังในการกรอกแบบ ภ.ง.ด.51 เพื่อให้ปลอดภัยจากการถูกประเมินของสรรพากร
- รอบระยะเวลาบัญชีเริ่มต้นและสิ้นสุดลงต้องยื่น ภ.ง.ด. 51 หรือไม่
- การเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่มีผลกระทบต่อการประมาณการกำไรสุทธิ
- การยกเว้นภาษี 300,000 บาท ของนิติบุคคลกับการประมาณการ ภ.ง.ด. 51
- นิติบุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลทั้งบางส่วนและทั้งหมดต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด. 51 ด้วยหรือไม่
4. Case Studies ที่เกิดขึ้นของธุรกิจที่ทำให้การประมาณการ ภ.ง.ด. 51 ขาดไปเกินกว่าร้อยละ 25
- มีการลดอัตราภาษี
- ยอดขายที่เกินความคาดหมายกว่าที่ประมาณการไว้
- ภัยพิบัติ
- จัดแคมเปญพิเศษ ลด แลก แจก แถม
- ได้รับเงินปันผล
- ขายทรัพย์สินของกิจการ
- เจ้าหนี้ยกหนี้ให้
5. เคล็ดลับการประมาณการกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลกลางปีเพื่อไม่ให้เสียเงินเพิ่ม
6. การวางแผนภาษีทั้งรายได้และค่าใช้จ่ายในครึ่งปีหลังเพื่อไม่ให้ประมาณการกลางปีผิดพลาดคลาดเคลื่อน เกิน 25% ของกำไรสุทธิทั้งปี
7. การประมาณการกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีของธุรกิจ BOI
8. ธุรกิจ SMEs ถ้ายื่น ภ.ง.ด.51 เสียภาษีในอัตรา SMEs ไปแล้วภายหลังไม่เข้าหลักเกณฑ์ที่จะได้สิทธิจะต้องเสียเงินเพิ่ม หรือไม่อย่างไร
- ยื่นเพิ่มเติม
- รอให้สรรพากรประเมิน
- รอยื่นปรับปรุงในแบบ ภ.ง.ด. 50
9. กรณีประมาณการกำไรสุทธิต่ำเกินกว่า 25% จะมีทางแก้ไขอย่างไร
10.กรณีบริษัทต่างประเทศมีตัวแทนเข้ามาทำงานในไทย (PE) ต้องยื่น ภ.ง.ด. 51 ด้วยหรือไม่
11.ความรับผิดเมื่อมีการประมาณการกำไรสุทธิขาดไปเกินกว่า 25%
12.“เหตุอันสมควร”ที่ต้องรู้เมื่อมีการประมาณการคลาดเคลื่อน พร้อมเตรียมให้ปากคำกับเจ้าหน้าที่
- การใช้สิทธิประโยชน์ในการหักรายจ่ายที่ได้เพิ่มขึ้น 1-2 เท่า จึงทำให้ประมาณการกำไรสุทธิขาดเกินกว่า ร้อยละ 25 ถือเป็นเหตุอันสมควรได้หรือไม่
13.การเขียนแจง “เหตุอันสมควร” ถ้าถูกสรรพากรตรวจสอบ