ปัญหาความขัดแย้งเป็นปัญหาหลักที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานร่วมกันในทุกองค์กร มีสาเหตุมาจากแนวคิด หรือผลประโยชน์ที่สวนทางกันของบุคคลหรือทีมงาน ผู้ที่สามารถวิเคราะห์หาสาเหตุของความขัดแย้งและป้องกันปัญหาได้นั้น หากเกิดความขัดแย้งขึ้นเมื่อใดก็จะสามารถบริหารความขัดแย้งในองค์กรได้อย่างเหมาะสม สร้างความสำเร็จในงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
|
หัวข้อสัมมนา1. ประเภทของความขัดแย้ง (ระหว่างบุคคล, ภายในกลุ่ม,ระหว่างกลุ่ม,ในองค์กร) 2. การวิเคราะห์สาเหตุของการเกิดความขัดแย้ง(ผลประโยชน์ขัดกัน,ความคาดหวังในบทบาทต่างกัน,อคติ,ขาดปฏิสัมพันธ์ ฯลฯ) 3. ผลทางบวกและผลทางลบ ของความขัดแย้ง 4. กระบวนการบริหารความขัดแย้ง 4.1. วินิจฉัยสาเหตุของความขัดแย้ง 4.2. พิจารณาผลของความขัดแย้ง ส่งผลอย่างไร? 4.3. การแก้ปัญหาความขัดแย้ง 5. สไตล์ของผู้นำกับการบริหารความขัดแย้ง 6. วิธีการจัดการกับความขัดแย้ง 6.1. การร่วมมือกัน (Collaboration Style) 6.2. การปรองดอง (Accommodation Style) 6.3. การประนีประนอม (Compromise Style) 6.4. การหลีกเลี่ยง (Avoidance Style) 6.5. การแข่งขัน (Competition Style) 7. Workshop วิเคราะห์ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจริงในองค์กร พร้อมแนวทางบริหารความขัดแย้งต่อสถานการณ์จริง |