หัวข้ออบรม
Section 1
1. ความหมายของรายได้ ค่าใช้จ่าย และประเภทของรายได้ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในกิจการ
2. ประเด็นการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับรายได้และค่าใช้จ่าย
3. การวัดมูลค่าของรายได้ ต้องวัดมูลค่าของรายได้ต้องใช้ราคาใดของสิ่งตอบแทนที่ได้รับหรือค้างรับ
4. การรับรู้รายได้จากการขายสินค้าและปัญหาการบันทึกบัญชี
5. การรับรู้รายได้จากการให้บริการและปัญหาการบันทึกบัญชี
6. การรับรู้รายได้ตามขั้นความสำเร็จของรายการบัญชีเป็นอย่างไร หลักเกณฑ์การบันทึกบัญชี
7. วิธีอะไรบ้างในการวัดขั้นความสำเร็จของงานตามมาตรฐานการบัญชี
8. หากกิจการไม่สามารถประมาณผลของรายการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการได้อย่างน่าเชื่อถือกิจการจะต้องรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายอย่างไร
9. การขายสินค้าและการให้บริการข้ามรอบระยะเวลาบัญชีจะรับรู้รายได้อย่างไร แนวปฏิบัติที่สำคัญ
10. การรับรู้รายได้ดอกเบี้ย ค่าสิทธิและเงินปันผลเป็นอย่างไร มีเงื่อนไขอะไรบ้าง
11. หลักเกณฑ์การรับรู้รายได้จากการแลกเปลี่ยนสินค้าต้องปฎิบัติอย่างไร
12. รายได้เกี่ยวกับการบริการโฆษณามีหลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติอย่างไร
13. การรับรู้รายได้จากการรับประกันสินค้า การส่งเสริมการขาย จะต้องบันทึกบัญชีอย่างไรบ้าง
14. การรับรู้รายได้โปรแกรมสิทธิแก่ลูกค้า
15. ปัญหาของค่าใช้จ่ายและการรับรู้ หลักเกณฑ์ที่สำคัญ
16. ปัญหาการบันทึกค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
17. แนวปฏิบัติการหนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ และค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
18. หลักเกณฑ์การบันทึกบัญชีของต้นทุนทางการเงินและการรับรู้รายการ
19. การบันทึกบัญชีรายจ่ายเกี่ยวกับพนักงานที่กิจการต้องปฏิบัติ
20. การปรับปรุงรายได้และค่าใช้จ่าย ณ วันสิ้นรอบบัญชีมีอะไรบ้าง ปัญหาในการบันทึกบัญชี
21. ปัญหาและข้อควรระมัดระวังในการจัดทำงบกำไรขาดทุนของกิจการ ณ วันสิ้นรอบบัญชี
ผลกระทบจากการบันทึกบัญชีที่สรรพากรนำมาตรวจสอบด้านภาษีอากร
22. คุณธรรม จริยธรรม หรือจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
Section 2
1. รายได้และรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
2. การรับรู้รายได้และรายจ่ายเกณฑ์สิทธิและเกณฑ์เงินสดเป็นอย่างไร
3. รายได้ที่ยกเว้นภาษีมีอะไรบ้าง
4. รายได้ที่ทางบัญชีไม่ถือเป็นรายได้ แต่ทางภาษีถือเป็นรายได้ต้องปฏิบัติอย่างไร
5. รายได้ที่ทางบัญชีถือเป็นรายได้ แต่ทางภาษีไม่ถือเป็นรายได้ต้องปฏิบัติอย่างไร
6. ปัญหาการรับรู้รายได้ทางบัญชีที่แตกต่างจากทางภาษี
- รายได้ข้ามรอบบัญชี
- รายได้ รายจ่ายเกิดคนละรอบบัญชี จะเสียภาษีอย่างไร
- รายได้รับล่วงหน้า
- หลักเกณฑ์ในการนำรายได้ทางบัญชีมาเสียภาษีอย่างครบถ้วน
7. เงื่อนไขในการคำนวณกำไรสุทธิที่กิจการจะต้องให้ความสำคัญเป็นพิเศษ
8. ปัญหาของรายจ่ายต้องห้ามในการคำนวณกำไรสุทธิ ประเด็นที่มักถูกประเมิน
- รายจ่ายส่วนตัว ให้โดยเสน่หา
- รายจ่ายเพื่อหากำไรและเพื่อกิจการโดยเฉพาะ
- รายจ่ายการกุศล รายจ่ายเพื่อการศึกษาและการกีฬา
- ผลเสียหายอันอาจได้กลับคืน เนื่องจากการประกันหรือสัญญาคุ้มกัน
- รายจ่ายค่ารับรอง
- รายจ่ายซึ่งพิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ
- รายจ่ายอันมีลักษณะลงทุน
- เอกสารหลักฐานในการบันทึกรายจ่าย
- รายจ่ายเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม
- รายจ่ายที่สรรพากรยอมให้ลงเป็นรายจ่ายได้แต่มีเงื่อนไข
- ภาษีซื้อและภาษีซื้อต้องห้าม
- รายจ่ายที่ต้องระวังเกี่ยวข้องกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น ลูกจ้าง
- รายจ่ายที่ไม่ได้จ่ายจริงและรายจ่ายข้ามรอบระยะเวลาบัญชี
- จับหลักรายจ่ายที่สรรพากรมองว่าสูงเกินจำเป็น
9. ปัญหาของรายจ่ายรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน
10. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการตัดลูกหนี้เป็นหนี้สูญตามประมวลรัษฎากร
11. ข้อควรระมัดระวังในการตีราคาสินค้าคงเหลือปลายงวด
12. ปัญหาการตรวจนับสินค้าคงเหลือในกรณีสินค้าขาดหรือเกิน จะต้องปฎิบัติอย่างไร
13. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
14. การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรในการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินได้เพิ่มขึ้น
15. รายจ่ายที่ถือเป็นรายจ่ายได้เพิ่มขึ้นจากที่จ่ายจริงและ สิทธิประโยชน์ทางภาษีที่สำคัญ
16. รายได้และรายจ่ายข้ามรอบระยะเวลาบัญชีจะต้องระมัดระวังอะไรบ้าง
17. สรุปรายได้-รายจ่าย เพื่อยื่นเสียภาษีกลางปีและสิ้นปี
18. คุณธรรม จริยธรรมหรือจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
นับชั่วโมง CPD | นับชั่วโมง CPA | ||
---|---|---|---|
บัญชี | อื่นๆ | บัญชี | อื่นๆ |
6:0 | 6:0 | 6:0 | 6:0 |