เจาะลึก 70 ประเด็นปัญหาที่พบมากที่สุดในการปฏิบัติงานของนักบัญชีพร้อมวิธีเเก้ไขให้ถูกต้องตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน

รหัสหลักสูตร : 23/4001

กำหนดการสัมมนา

อัตราค่าสัมมนา

สมาชิกวารสารธรรมนิติ : 1,284 บาท ( รวม VAT )
บุคคลทั่วไป : 1,712 บาท ( รวม VAT )

รายละเอียดหลักสูตร

หัวข้ออบรม

1. ถ้ากิจการ NPAEs ต้องการใช้มาตรฐานของ PAEs ต้องปฏิบัติอย่างไร

2. หากกิจการ NPAEs จะต้องใช้ IFRS For SMEs จะต้องปฏิบัติมาตรฐานใดเพิ่มเติมบ้าง

3. เปรียบเทียบหลักการบัญชีกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินความเหมือนที่แตกต่าง

4. องค์ประกอบที่สำคัญของกรอบเเนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงินที่นักบัญชีต้‰องรู้‰

5. การแสดงงบการเงินที่ถูกต้องตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินเป็นอย่างไร

6. รูปแบบรายงานทางการเงินที่จัดทำอยู่จะรู้ได้อย่างไรว่าเหมาะสมกับสถานการณ์ขณะนั้นหรือไม่

7. กำไรขั้นต้นมีผลขาดทุน ผิดปกติหรือไม่ อย่างไร

8. ส่วนประกอบของหมายเหตุประกอบงบการเงินมีอะไรบ้าง

9. รูปแบบของงบการเงินในระบบ e-Filing มีกี่แบบ และวิธีเลือกใช้ให้เหมาะสมกับธุรกิจ

10. ลักษณะของงบการเงินที่มีคุณภาพและน่าเชื่อถือเป็นอย่างไร

11. รายการในงบการเงินจำเป็นต้องถูกต้องตามหมายเหตุประกอบงบการเงินหรือไม่ อย่างไร

12. งบการเงินเปรียบเทียบจำเป็นต้องจัดทำหรือไม่

13. อย่างไรถือว่าเป็นข้อผิดพลาดที่ไม่เป็นสาระสำคัญ และไม่ต้องปรับปรุงรายการทางบัญชี

14. หลักเกณฑ์การพิจารณาการปรับปรุงรายการทางบัญชี กรณีปรับปรุงย้อนหลังหรือเปลี่ยนทันที

15. วิธีในการตีราคาทุนของสินค้าใช้หลักเกณฑ์ใดพิจารณา

16. วิธีการบริหารสินค้าที่มีวันหมดอายุกำหนด

17. อะไหล่เครื่องจักรถือเป็นสินค้าคงเหลือหรือไม่

18. วิธีการนับ Stock ในกรณีที่สินค้าชนิดเดียวกันมีเป็นจำนวนมากทำอย่างไร

19. สินค้าชำรุดเสียหายจะบันทึกบัญชีอย่างไร

20. สินค้าขาดจาก Stock จะบันทึกบัญชีอย่างไร และมีผลกระทบอะไรบ้าง

21. ยอดสินค้าไม่ตรงกับบัญชีจะต้องปฏิบัติอย่างไร

22. การคำนวณต้นทุนมูลค่าสินค้าที่ปรับลงใช้ราคาทุนหรือNRV ใช้หลักเกณฑ์ใดพิจารณา

23. สินค้าอะไรบ้างที่ถือเป็นสินทรัพย์

24. แนวปฏิบัติของการขายสินค้าต่ำกว่าราคาทุน

25. หลักเกณฑ์การตีราคาสินค้า

26. สินค้าคงเหลือไม่มีอยู่จริงในทางบัญชีต้องปฏิบัติอย่างไร

27. ผลขาดทุนจากการตีราคาสินค้าให้แสดงอยู่ในรายการบัญชีใด

28. การแลกเปลี่ยนสินค้าราคาใกล้เคียงกันจะต้องรับรู้เป็นรายได้หรือไม่

29. หลักเกณฑ์ในการนำเสนองบกระแสเงินสด

30. กิจกรรมหลักของงบกระแสเงินสดมีอะไรบ้าง

31. เทคนิคการใช้งบกระแสเงินสดเพื่อดูสภาพคล่องของกิจการ

32. การประเมินความสามารถในการทำกำไรจากงบกระแสเงินสด

33. สัญญาเช่า ความชัดเจนในการจัดประเภทสัญญาเช่ามีกี่ประเภท อะไรบ้าง

34. เช่าซื้อ ลิสซิ่ง จะถือเป็นสินทรัพย์หรือค่าเช่า

35. เซ้งตึกเปิดเป็นบริษัท 5 ปี จะบันทึกบัญชีอย่างไร

36. อาคารระหว่างการก่อสร้างคิดค่าเสื่อมอย่างไร

37. แนวปฏิบัติการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ แบบมีเนื้อหาเชิงพาณิชย์ และไม่มีเนื้อหาเชิงพาณิชย์

38. ซื้อเครื่องจักรมา 1 เครื่องแต่ไม่ได้ผลิดต้องคิดค่าเสื่อมหรือไม่

39. หลักเกณฑ์การปันส่วนที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

40. วิธีการคิดค่าเสื่อมของต้นทุนการรื้อถอน

41. ระยะเวลาและวิธีการทบทวนอายุการใช้งานของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

42. การแยกส่วนประกอบของสินทรัพย์เพื่อคิดค่าเสื่อมพิจารณาจากอะไรว่าควรแยกหรือไม่แยก

43. วิธีการตีราคาสินทรัพย์เพิ่มของกิจการแนวปฏิบัติที่ถูกต้อง

44. หลักเกณฑ์การพิจารณาการด้อยค่ามูลค่าที่จะได้รับคืน คืออะไร

45. ที่ดิน,ส่วนประกอบที่ดิน คิดค่าเสื่อมอย่างไร

46. การประมาณการค่ารื้อถอนจะถือเป็นสินทรัพย์เมื่อใด

47. ประเด็นสำคัญในการบริหารสินทรัพย์

48. การด้อยค่าในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

49. การประมาณการค่าก่อสร้างกรณีกิจการสร้างสินทรัพย์เอง

50. ข้อแตกต่างระหว่างที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ กับงานระหว่างก่อสร้าง

51. ข้อแตกต่างระหว่างค่าเสื่อมกับการด้อยค่า

52. วิธีการพิจารณาในการตัดรายการสินทรัพย์ของจากบัญชี

53. รายจ่ายภายหลังการได้มาของสินทรัพย์มีหลักเกณฑ์การพิจาณาอยˆ่างไร จึงจะถือเป็นสินทรัพย์หรือค่าใช้จ่าย

54. หลักเกณฑ์ในการขายและเช่ากลับคืนกรณีกิจการขาดสภาพคล่อง

55. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนมีกี่ประเภทอะไรบ้าง และแต่ละประเภทมีหลักเกณฑ์ใดในการพิจารณา

56. หลักเกณฑ์การตัดจำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนแต่ละประเภท

57. การทดสอบการด้อยค่าของสินทรัพย์ไม่มีตัวตนมีวิธีการอย่างไร

58. หลักเกณฑ์การตีราคาใหม่ของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

59. ดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นก่อนการก่อสร้าง กรณีสร้างเพื่อใช้งานโดยการเช่าที่และสร้างโดยที่ดินของตัวเองจะบันทึกบัญชีอย่างไร

60. ซื้อเครื่องจักรจากต่างประเทศ ส่งเจ้าหน้าที่ไปเทรนนิ่ง การใช้เครื่องจักร ค่าที่พัก ค่ารถ ค่าอาหารต้องปฏิบัติอย่างไรในทางบัญชี

61. สินทรัพย์ใดบ้างที่เข้าเงื่อนไขที่สามารถนำต้นทุนการกู้ยืมมารวมเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนได้

62. ต้นทุนการกู้ยืม กรณีกู้หลายแห่งจะบันทึกบัญชีอย่างไร

63. ผลกระทบกรณีที่บริษัทไม่มีการตั้งประมาณการหนี้สิน ผลประโยชน์พนักงาน

64. อย่างไรถึงจะถือว่าเป็นประมาณการที่ดีที่สุดของผลประโยชน์ของพนักงาน

65. วิธีการประมาณการหนี้สูญตามมาตรฐานการบัญชี

66. จะตัดจำหน่ายหนี้สูญออกทางบัญชีไดเมื่อไหร่

67. หลักเกณฑ์การตัดจำหน่ายหนี้สูญ

68. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญวิเคราะห์จากอะไร

69. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญต้องจัดทำตอนไหน

70. คุณธรรม จริยธรรม หรือจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

นับชั่วโมง CPD นับชั่วโมง CPA
บัญชี อื่นๆ บัญชี อื่นๆ
6:0 0:0 6:0 0:0

วิทยากร

อาจารย์พงษ์ธร ดวงปัญญา

สถานที่

โรงแรมเอส.ดี อเวนิว
94 แขวง บางบำหรุ เขต บางพลัด
กรุงเทพมหานคร 10700
โทรศัพท์ :
02-4340400
เว็บไซต์ :
การเดินทาง :

รถไฟฟ้า MRT สถานีบางยี่ขัน ทางออกที่ 1 (ห่างจากสถานี 900 เมตร)


: InternetExplorer เวอร์ชั่น 10 ขึ้นไป : Firefox เวอร์ชั่น 53 ขึ้นไป : Chrome เวอร์ชั่น 58 ขึ้นไป

FaLang translation system by Faboba