หัวข้อสัมมนา
• ประเด็นการตรวจสอบภาษีพร้อมเทคนิคการทำจดหมายชี้แจงกรมสรรพากร
1. ประเด็นที่สรรพากรมักตรวจสอบมีอะไรบ้าง
- รายงานภาษีซื้อ ภาษีขาย
- ใบกำกับภาษี (ทั้งซื้อและขาย)
- ต้นทุนการผลิต
- ดอกเบี้ยรับ
- รายได้อื่น
- สต๊อคสินค้า
2. ประเด็นที่สรรพากรตรวจสอบในงบทดลองทางบัญชี
- บัญชีแยกประเภท
- เงินสด
- เจ้าหนี้ ลูกหนี้
- เงินกู้ยืม
3. เมื่อใดที่ต้องทำคำชี้แจงต่อกรมสรรพากร
4. สิ่งที่สรรพากรต้องการให้ชี้แจงมีอะไรบ้างและวิธีการเขียนคำชี้แจงให้สรรพากรยอมรับ
- สรรพากรต้องการทราบที่มาของรายได้ต้องชี้แจงอย่างไร
- กำไรลด
- รายได้ลด
- รายจ่ายเพิ่ม
- ประมาณการขาดไปเกินกว่า ร้อยละ 25
- กำไรขั้นต้นต่ำไป
- สต๊อกสูญหายหรือนำไปขายแต่ไม่ลงรายได้
- ค่าตอบแทนกรรมการสูงเกินไป
- สวัสดิการให้พนักงานบางคนสูงกว่าพนักงานทั่วๆไป
- ค่ารับรองที่ให้กับลูกค้าที่สูงเกินไป
- ทำไมขายสินค้าราคาต่ำ
- ขายสินค้าหรือให้บริการกับบริษัทในเครือในราคาที่ต่ำหรือสูงเกินไป
- เงินยืมกรรมการไม่จ่ายดอกเบี้ย
- ให้พนักงานกู้ยืมโดยไม่คิดดอกเบี้ย
- แจ้งทำลายสินค้าแต่ไม่ทำลายจริงแอบนำไปขาย/บริจาค
- ขาดทุนติดต่อกันหลายปี
- กรณีสรรพากรขอดูเอกสารแต่เอกสารสูญหายต้องชี้แจงอย่างไร
- มีกำไรสะสมแต่ไม่จ่ายเงินปันผล
- VAT ลด แต่รายได้ไม่ลด
- กำหนดสูตรการผลิตส่วนสูญเสียสูงเกินไป
- รายได้ถึง 1,800,000 แต่ไม่จด VAT
- กรณีไม่ได้ทำสัญญาว่าจ้างแต่มีการจ่ายเงินค่าจ้าง
- กรณีไม่ได้ทำสัญญาแต่สรรพากรให้เสียอากรแสตมป์
- กรณีรายได้ใน ภ.ง.ด.50 และ ภ.พ.30 ไม่ตรงกัน
- ยอดขายในแบบ ภ.พ.30 น้อยกว่า ภ.ง.ด.53
5. กรณียื่นแบบเสียภาษีผิดพลาดคลาดเคลื่อนจะต้องเขียนคำชี้แจงอย่างไร
- กรณียื่นแบบ ภ.พ.30 สลับเดือน
- ในแบบ ภ.พ.30 ข้อเท็จจริงต้องกรอกภาษีที่ชำระเกินในเดือนนี้ แต่ไปกรอกในช่องภาษีที่ต้องชำระในเดือนนี้
- กรณีหัก ณ ที่จ่ายนำส่งผิดบริษัทต้องเขียนชี้แจงต่อสรรพากรหรือไม่
6. ใครต้องเป็นคนลงลายมือชื่อในคำชี้แจง
- กรรมการสามารถมอบอำนาจให้บุคคลอื่นลงชื่อในคำชี้แจงแทนได้หรือไม่
7. กรณีสรรพากรไม่ยอมรับคำชี้แจงและจะขอประเมินภาษีต้องปฏิบัติอย่างไร 8. การเขียนคำชี้แจงจำเป็นต้องจ้างบริษัทที่ปรึกษาเขียนให้หรือไม่ 9. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี |