การแก้ปัญหาและการบริหารความเสี่ยงกับพิกัดอัตราศุลกากรสำหรับการนำเข้า-ส่งออก พร้อมกลยุทธ์การสำแดงพิกัดอัตราศุลกากรเพื่อป้องกันความผิดทางศุลกากร
(Customs Tariff Classification for Import and Export)
วิทยากรโดย ดร.สิทธิชัย พรหมสุวรรณหัวข้อสัมมนา
1. หลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตราศุลกากรและระบบ HS Version 20222. การบริหารความเสี่ยงจากการสำแดงพิกัดอัตราศุลกากรในใบขนสินค้า3. ประเด็นพิกัดอัตราศุลกากรที่กรมศุลกากรมักตรวจสอบ Post Review/ Post Audit4. แนวทางการชี้แจงข้อมูลสินค้าที่เป็น Model - คุณสมบัติลักษณะการทำงานและการนำไปใช้5. การบริหารความเสี่ยงพิกัดอัตราศุลกากร - นำเข้าเป็นสินค้าที่มีลักษณะพิเศษ (Unique) ซึ่งไม่มีผู้ประกอบการรายอื่นนำเข้ามาก่อน - การพัฒนาของเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบต่อการจำแนกพิกัดของสินค้า6. บริหารความเสี่ยงพิกัดอัตราศุลกากรโดยขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานของภาครัฐอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการวิเคราะห์สินค้าที่นำเข้า - กรมศุลกากรยอมรับได้หรือไม่ หากไม่ยอมรับจะมีแนวทางโต้แย้งอย่างไร7. พิกัดอัตราศุลกากรกับการใช้สิทธิประโยชน์ภายใต้เขตการค้าเสรี FTA8. การนำเข้าสินค้าโดยใช้สิทธิภายใต้ BOI เขตปลอดอากร และคลังสินค้าทัณฑ์บน9. ประเด็นความเสี่ยงในการสำแดงพิกัดอัตราศุลกากรต่ำกว่าความเป็นจริง กรณีใช้บริการตัวแทนออกของหรือชิปปิ้ง10.การวางแผนการใช้สิทธิพิกัดอัตราศุลกากรล่วงหน้า (Advance Customs Tariff Ruling) มีประโยชน์อย่างไร11. การวางแผนจากคำวินิจฉัยพิกัดอัตราศุลกากรและคำพิพากษาศาลฎีกา - ผู้ประกอบการสามารถใช้คำวินิจฉัยเกี่ยวกับ “ข้อพิพาทพิกัดอัตราศุลกากร” ได้หรือไม่ เพียงใด - ผู้นำเข้าสามารถใช้ประโยชน์จาก “คำอธิบาย HS (Explanatory Notes หรือ EN)” เพื่อลดความเสี่ยงพิกัดอัตราศุลกากรด้วยตนเองได้อย่างไร12. เทคนิคในการเตรียมข้อมูลเพื่อโต้แย้งเมื่อเจ้าหน้าที่ศุลกากรเข้าตรวจ13. Update ข้อพิพาทในศาลฎีกาล่าสุดเกี่ยวกับพิกัดอัตราศุลกากร14.กรณีเป็นของที่ได้รับยกเว้นอากรตามภาค 4 แต่กลับชำระอากรขาเข้าผิดพิกัด สามารถขอคืนอากรได้หรือไม่ 15.เทคนิคการโต้แย้งพิกัดต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เพิ่มโอกาสในการชนะคดี
รถไฟฟ้า BTS สถานีชิดลม ทางออกที่ 6