บรรยายโดย อาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์
หัวข้อสัมมนา
1. กรณีใดบ้าง? ที่จะต้องดำเนินการว่ากล่าวตักเตือนลูกจ้าง
2. ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของการว่ากล่าวตักเตือนลูกจ้าง
3. ทำความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการลงโทษวินัยตามระเบียบข้อบังคับขององค์กร
4. ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้น กรณีมีการว่ากล่าวตักเตือนลูกจ้าง
- ใคร? ควรจะเป็นผู้ว่ากล่าวตักเตือนลูกจ้าง
- การกระทำผิด ประเภทใด? ที่จะต้องทำการว่ากล่าวตักเตือน
- ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นหลังจากการว่ากล่าวตักเตือน
- ก่อน (ใช้อารมณ์ในการตักเตือน ไม่รู้กฎบริษัท ปรับความเข้าใจ) - ระหว่าง (เกิดการต่อต้าน ขณะตักเตือน) - หลัง (เกิดความไม่พอใจของผู้ถูกตักเตือน)
5. การเตรียมตัวและขั้นตอน สำหรับการว่ากล่าวตักเตือน
- ทัศนคติเชิงบวกสำหรับผู้ว่ากล่าวตักเตือน
- ระเบียบข้อบังคับที่ผู้ถูกว่ากล่าวตักเตือนกระทำผิด
- การเตรียมข้อมูลของผู้ถูกว่ากล่าวตักเตือน
- การใช้ภาษากาย Body Language ที่เหมาะสมและสิ่งที่ต้องระมัดระวังในขณะว่ากล่าวตักเตือน
- ศิลปะการใช้คำพูด การโน้มน้าวให้ลูกจ้างเกิดความเข้าใจเกี่ยวกับการกระทำความผิด
- เทคนิคการตั้งคำถาม การจับประเด็นสำคัญและกริยาท่าทางต่างๆ
- การติดตามผล หลังจากได้มีการว่ากล่าวตักเตือน
เทคนิคการขียนหนังสือเตือน ให้ถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน
1. เนื้อหาสาระสำคัญที่จะต้องมีในหนังสือเตือน
2. ตัวอย่างแบบฟอร์มของหนังสือเตือนที่ถูกต้องตามกฎหมาย
3. ปัญหาที่จะเกิดขึ้น เกี่ยวกับการออกหนังสือเตือน
- การออกหนังสือเตือนทำให้ “เลิกจ้าง” ได้หรือไม่
- การกระทำผิดซ้ำคำเตือน เป็นอย่างไร?มีระยะเวลาเท่าใดและมีผลบังคับใช้อย่างไร?
- หนังสือเตือน จำเป็นต้องมีพยานเซ็นต์รับทราบหรือไม่ ลูกจ้างไม่ยอมเซ็นต์ชื่อรับทราบความผิดจะต้องทำอย่างไร?
- ตัวอย่าง :กรณีใดบ้างที่ไม่ถือว่าเป็นหนังสือเตือนตามกฎหมาย
- ตัวอย่าง : หนังสือเตือนที่นายจ้างแพ้คด
4. กรณีออกหนังสือเตือนกรณีใดเป็นการเลิกจ้างที่จะต้องจ่ายค่าชดเชย และไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย มีความแตกต่างอย่างไร?
5. Case study การออกหนังสือเตือน กรณีต่างๆ
6. ถาม-ตอบประเด็นปัญหา
|