Tax Auditor/Tax Agent สามารถนับชั่วโมง TA ได้ 12.30 ชม.
วิทยากรโดย อาจารย์ณัฏฐกิตติ์ ญเจริญปัญญายิ่ง และ วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทางภาษีอากร
หัวข้อสัมมนา
วันที่ 1 Update มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับสำคัญ พร้อมแนวปฏิบัติที่มีความแตกต่างกัน
1. Update มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับสำคัญของ TFRS for PAEs 2. สาระสำคัญของการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการายงานทางการเงิน TFRS for NPAEs ใหม่ที่ปรับปรุง 17 บท - บทที่ 1 ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ - บทที่ 2 ขอบเขต - บทที่ 3 กรอบแนวคิด - บทที่ 4 การนำเสนองบการเงิน - บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการและข้อผิดพลาด - บทที่ 6 เงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสด - บทที่ 7 ลูกหนี้ - บทที่ 8 สินค้าคงเหลือ - บทที่ 9 เงินลงทุน - บทที่ 10 ที่ดินอาคารและอุปกรณ์ - บทที่ 11 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - บทที่ 12 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน - บทที่ 14 สัญญาเช่า - บทที่ 16 ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและ สินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น - บทที่ 18 รายได้ - บทที่ 21 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราต่างประเทศ - วันถือปฏิบัติและการปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนผ่าน 3. สรุปรายละเอียด TFRS for NPAEs 6 บทที่มีการเพิ่มเติม - บทที่ 22 เกษตรกรรม - บทที่ 23 เงินอุดหนุนจากรัฐบาล - บทที่ 24 อนุพันธ์ - บทที่ 25 การรวมธุรกิจ - บทที่ 26 การสำรวจและประเมินค่าแหล่งทรัพยากร - บทที่ 27 ข้อตกลงสัมปทานบริการ 4. มาตรฐานการบัญชีและ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับสำคัญ (ปรับปรุงล่าสุด) พร้อมแนวปฏิบัติที่มีความแตกต่างกันกับ TFRS for NPAEs - TAS 2 เรื่อง สินค้าคงเหลือ กับ NPAEs บทที่ 8 สินค้าคงเหลือ - TAS 16 เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ กับ NPAEs บทที่ 10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - TAS 37 เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น กับ NPAEs บทที่ 16 ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น - TAS 38 เรื่อง สินทรัพย์ไม่มีตัวตน กับ NPAEs บทที่ 11 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - TFRS 16 เรื่อง สัญญาเข่า กับ NPAEs บทที่ 14 สัญญาเช่า 5. งบการเงินและรูปแบบที่สำคัญตามมาตรฐานรายงานทางการเงิน ตาม TAS เรื่องการนำเสนองบการเงิน กับ NPAEs บทที่ 4 6. การจัดทำหมายเหตุประกอบงบการเงินและการเปิดเผยข้อมูล 7. ข้อพิจารณาและความจำเป็นในการจัดทำงบการเงินรวม 8. การปรับปรุงรายการผิดพลาดที่ตรวจพบภายหลังยื่นงบการเงิน 9. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
วันที่ 2 ประเด็นทางภาษีอากรที่ต้องทราบ เพื่อรองรับการตรวจสอบของสรรพากร
1. ประเด็นปัญหาภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร ที่นักบัญชีต้องทราบ • ภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.1 Update กฎหมายภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.2 เกณฑ์การรับรู้รายได้ - รายจ่าย - เกณฑ์สิทธิ และ เกณฑ์เงินสด 1.3 ปัญหารายจ่ายต้องห้ามและลงรายจ่ายได้แต่มีเงื่อนไข 1.4 วิธีการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล 1.5 การยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 และ ภ.ง.ด. 51 • ภาษีภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย 1.6 Update กฎหมายภาษีหัก ณ ที่จ่าย 1.7 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่สำคัญในการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย 1.8 กิจการที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 1.9 ปัญหาการหักภาษี ณ ที่จ่ายและอัตราภาษี - การขายสินค้าพร้อมให้บริการ - ค่าขนส่ง - การหักณ ที่จ่ายด้วยระบบ e-Withholding Tax - การจ่ายเงินตั้งแต่ 1,000 บาทมีหลักเกณฑ์การหักภาษีอย่างไร 1.10 บทลงโทษกรณีไม่หัก ณ ที่จ่าย หรือนำส่งไม่ครบ • ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.11 Update กฎหมายภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.12 กิจการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มและกิจการที่ได้รับยกเว้น - ฐานภาษีที่ต้องจดเข้าสู่ระบบ VAT 1.13 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการออกใบกำกับภาษีเต็มรูป ใบลดหนี้ ใบเพิ่มหนี้ - หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการออกใบเพิ่มหนี้และใบลดหนี้ - จุดความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มและฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม - การออกใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 1.14 วิธีการตรวจสอบใบกำกับภาษีปลอม 1.15 หลักเกณฑ์การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม 1.16 วิธีการตรวจสอบเอกสาร การขอคืน ของเจ้าหน้าที่สรรพากร 2. แนวทางการตรวจสอบภาษีของเจ้าหน้าที่สรรพากรในปีนี้ ที่นักบัญชี ต้องระมัดระวัง - จุดที่สรรพากรจะตรวจสอบ - รายการทางภาษีอากรที่ต้องระวังเป็นพิเศษ
|