บรรยายโดย ดร.วิทยา อรุณศิริเพ็ชร
หัวข้อสัมมนา
1. Question & Answer เรื่อง การนำเสนองบการเงิน (TAS 1)
- การเปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชี ต้องออกงบการเงิน เพื่อแสดงรายการเปรียบเทียบกันอย่างไร
- กรณีเลิกกิจการในระหว่างปี ต้องจัดทำงบการเงินเปรียบเทียบย้อนหลังปีก่อนหรือไม่
- ความแตกต่างของเกณฑ์การดำเนินงานต่อเนื่องและเกณฑ์คงค้าง
- ปัญหาของเงินลงทุนระยะยาว กับ การนำเสนองบการเงิน ประเด็นใดที่ต้องพิจารณา
- กำไรจากการขายทรัพย์สินและเช่ากลับคืน จะนำเสนองบการเงินในรายการใด (PPE)
2. Question & Answer เรื่อง สินค้าคงเหลือ (TAS 2)
- การบันทึกและการลงรายงานสินค้าและวัตถุดิบผิดพลาดแก้ไขอย่างไร
- ส่วนลดจากการซื้อสินค้าในทางบัญชีจะ บันทึกบัญชีอย่างไร
- ตรวจนับสินค้าคงเหลือพบว่า สินค้าขาด เกินจากสต๊อก ชำรุด เสียหาย จะควบคุมและบันทึกบัญชี อย่างไร
- หลักเกณฑ์การทำลายสินค้าคงเหลือ รวมถึงการตัดยอดสินค้าออกจาก stock ทำอย่างไรให้ถูกต้อง
3. Question & Answer เรื่อง รายได้ (TFRS 15 และ NPAEs บทที่ 18)
- การรับรู้รายได้ของ Incoterm Exwork ทำอย่างไรจึงจะถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี (NPAEs)
- การรับรู้รายได้ Five – Step Model มีประโยชน์อย่างไร
- รายได้ที่ถึงกำหนดรับเงิน แต่ยังไม่ได้รับเงิน จะต้องปฏิบัติอย่างไรให้ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชี
- รับเงินแล้ว แต่กิจการยังไม่รับรู้รายได้ ทำได้หรือไม่ และบันทึกบัญชีอย่างไร
4. Question & Answer เรื่อง ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (TAS 16)
- การหักค่าเสื่อมจนเหลือ 1 บาท มาตรฐาน NPAEs ให้ดำเนินการอย่างไร
- การแยกส่วนประกอบสินทรัพย์ จะต้องรับรู้รายการและวัดมูลค่าอย่างไร
- ต้องทำอย่างไรกับ ทรัพย์สินที่ไม่ได้ใช้งานและยังเหลืออยู่ ตามมาตรฐาน NPAEs
- แนวทางการบันทึกบัญชีสำหรับสินทรัพย์ที่มีอายุการใช้งานสั้น
- มูลค่ายุติธรรมและมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ กิจการต้องวัดมูลค่าเมื่อไร และบันทึกบัญชีอย่างไร
- กำไรจากการขายทรัพย์สินและเช่ากลับคืน นำเสนอรายการอย่างไร
5. Question & Answer เรื่อง การบันทึกบัญชีทั่วไป
- เกณฑ์การรับรู้รายการและการบันทึกบัญชีผลกำไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนตามทางเลือก NPAEs
- การคิดดอกเบี้ยเงินกู้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนวัตถุดิบ สามารถทำได้หรือไม่
- วิธีการประเมินค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ทำอย่างไรให้ถูกต้องตามมาตรฐาน PAE / NPAEs
- การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการรับรู้เงินชดเชยประกันภัย
- แนวทางการประเมินภาระผูกพัน กับการประมาณการหนี้สิน ตามมาตรฐานการบัญชี
|